ต งค าให ps ม เส นบอกตำแหน งกลาง

สัทศาสตร์เพอ่ื การส่ือสารภาษาองั กฤษ Phonetics for English Communication (1531121) Pongthep BunruengFaculty of Humanities and Social Sciences Loei Rajabhat University

คำอธิบำยรำยวิชำ ลักษณะของเสียงในภาษาอังกฤษ มีแขนงย่อยอีก 3 สาขาคือ สรีรสัทศาสตร์ (Articulatoryphonetics) กลสัทศาสตร์ (Acoustic phonetics) และโสตสัทศาสตร์ (Auditory phonetics) การฝึกออกเสียงพยัญชนะ ระดับคา การเน้นพยางค์ ทานองเสียง กลไกการเปล่งเสียง การจาแนกหน่วยเสยี งในภาษาองั กฤษและการนาเสียงในภาษาอังกฤษมาวิเคราะห์อย่างมหี ลักเกณฑ์ Description of sound spoken language, there are three sub-areas of branches:articulatory phonetics, acoustic phonetics, and auditory phonetics. Training ofintonation stress syllable, tone, consonants, sound and accent mechanism. Theclassification of phonemes in English and the voice navigation in English analyzedscientifically. Teaching planWeek Topic Teaching aids Assessment Pretest1 Introduction - - Quiz2 Speech production PPP/web Quiz Quiz3 Speech production PPP Quiz4 Consonant sound PPP/web Quiz Quiz5 Consonant sound PPP Posttest7 Consonant sound PPP8 Consonant sound PPP9 Vowel sound PPP/web10 Vowel sound PPP11 Vowel sound PPP12 Supra-segmental features PPP/web13 Supra-segmental features PPP14 Supra-segmental features PPP15 Summary : a comparative PPPstudy between Thai andEnglish16 Conclusion PPPGrading system by t-score

Contentบทนำ สัทศาสตร์และสรวิทยา หนา้ 1บทท่ี 1 การสรา้ งเสยี งพูดในภาษา (Speech Sound production) 5 5อวัยวะในการออกเสยี ง (Organs of speech) 10 11การเกดิ ของเสียง (Speech sound) 12 15สรุป 16 17แบบฝกึ หัด 17 20เอกสารอ้างอิง 27 28บทท่ี 2 เสยี งพยัญชนะในภาษาองั กฤษ (English consonant sounds) 30 31การแบ่งตามตาแหน่งท่เี กิดเสียง (Points of articulation) 31 33การแบ่งตามลักษณะของการอกเสียง (Manners of articulation) 34หน่วยเสียงพยัญชนะ (Consonant sounds) 40 43สรุป 44 50แบบฝกึ หัด 51 51เอกสารอา้ งอิง 56 59บทท่ี 3 หนว่ ยเสียงสระในภาษาอังกฤษ 60 66เสียงสระมาตรฐาน (Cardinal vowels) 69 70เสียงสระในภาษาองั กฤษ (English vowel sounds) 72 73เสียงสระเด่ยี ว (Monophthongs)เสยี งสระประสม (Diphthongs)สรปุแบบฝกึ หัดเอกสารอา้ งองิบทท่ี 4 สัทสมั พนั ธ์การเน้นเสยี ง (Stress)การเช่อื มคา (Linking sounds)จงั หวะ (Rhythm)ทานองเสียง (Intonation)ระดับเสียง (Pitch)สรปุแบบฝึกหดัเอกสารอา้ งองิ `บทท่ี 5 บทสรปุ การเปรียบเทียบระหวา่ งภาษาไทยและภาษาองั กฤษ

1 บทนำ สัทศำสตรแ์ ละสรวทิ ยำ (Phonetics and Phonology) ภาษาศาสตร์เป็นวิชาที่เก่ียวข้องกับวิชาต่าง ๆ ท้ังท่ีเป็นเน้ือหาด้านวิทยาศาสตร์ เช่นสรีรวิทยา สรวิทยา สัทศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และไม่เป็นวิทยาศาสตร์ เช่นสังคมศาสตร์ ปรัชญาจติ วิทยาเป็นต้น การเกยี่ วข้องนน้ั เก่ยี วข้องในลักษณะท่ีเนื้อหาเก่ียวข้องสัมพันธ์กัน ดังนั้นการศึกษาภาษาศาสตรจ์ ึงศกึ ษากันแยกยอ่ ยออกไปเป็นสาขาตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1. ภำษำศำสตรท์ ว่ั ไป (General Linguistics) เปน็ การศกึ ษาลักษณะท่วั ไปของภาษาทใ่ี ช้พดู อยู่ในปัจจุบนั การศึกษาน้ันมีวิธกี ารประกอบด้วยการเก็บข้อมูล การวเิ คราะหข์ ้อมลู ตลอดจนการนาเสนอผลการศึกษาทแี่ ตกต่างกนั ไปเปน็ พวก ๆ ได้แก่  ภำษำศำสตร์ท่วั ไปวรรณนำ (Descriptive Linguistics) คอื การศึกษาภาษาโดยอาศยั ขอ้ ความตัวอย่างหรือข้อมูลเป็นหลัก เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลตามตัวอยา่ งที่เกบ็ มาไดน้ ้ันแล้วก็นาตงั้เป็นกฎเกณฑห์ รอื ทฤษฎแี ลว้ เขียนบรรยายไว้ โดยปกตกิ ารศกึ ษาในแนวภาษาศาสตร์วรรณนา มักจะศึกษาในเรอ่ื งตอ่ ไปนี้ 1) สรวิทยำ (Phonology) หรือการศึกษาหาระบบเสยี งของภาษาใดภาษาหน่ึงทใี่ ช้พูดกนัอยู่ในปัจจบุ นั และการที่จะศึกษาหาระบบเสียงของภาษาใดภาษาหน่ึงน้ันต้องศึกษาในส่งิ ตา่ ง ๆต่อไปนี้ดว้ ย ได้แก่ ก. สทั ศำสตร์ (Phonetics) เป็นวชิ าท่ศี ึกษาเกย่ี วกับเสียงในภาษาโดยศกึ ษาดวู า่การทมี่ นุษย์เปล่งเสียงใดเสียงหนึง่ ออกมานั้นมนษุ ย์ใช้อวัยวะใดบ้างในการผลติ เสียง เสยี งทีเ่ ปล่งออกมามีลักษณะทางกายภาพอยา่ งไร และหทู างานอย่างไรเพ่ือรับรู้และเข้าใจเสยี ง การศกึ ษาในวิชาสทั ศาสตรจ์ ึงแบง่ ย่อยออกไปได้อีกเปน็ (1) สรีรสทั ศาสตร์ (Articulatory Phonetics) เป็นการศึกษาว่าในการผลติ เสียงในภาษาน้ัน มีอวัยวะใดเกี่ยวข้องบา้ ง เกยี่ วขอ้ งอย่างไร (2) กลสทั ศาสตร(์ Acoustic Phonetics) ศึกษาลักษณะทางกายภาพของเสียงที่เปลง่ ออกมาโดยใชเ้ คร่ืองมือทางวิทยาศาสตร์ เชน่ Sound Spectrogram และ Laryngoscope (3) โสตสทั ศาสตร์ (Auditory Phonetics) ศึกษาเกีย่ วกับการรับรู้ของหู สมองการเข้าใจภาษา และการตอบโตห้ รือส่อื สาร ข. สรศำสตร์ (Phonemics) เก่ียวข้องกับการศึกษาหาหน่วยเสียง (Phonemes)ศึกษาวา่ เสียงในภาษาเสียงใดท่ีเป็นเสียงสาคัญที่สามารถทาให้ความหมายของคาแตกต่างกันได้ก็จัดว่าหน่วยเสียง ตัวอย่างคาว่า [mob] และ [mop] มีเสียงพยัญชนะสะกดต่างกัน และมีความหมายต่างกัน ดังนั้นการหาหน่วยเสียงนั้นก็คือการนาเสียงในภาษามาวิเคราะห์อย่างมีหลักเกณฑ์ เพ่ือดูว่าเสยี งในภาษาใดทาให้คามคี วามหมายแตกต่างกนั ได้ 2) ไวยำกรณ์ (Grammar) เป็นการศึกษาหาหลกั เกณฑ์ตา่ งๆ ในภาษาตั้งแต่ระดับคา วลีประโยค ขอ้ ความหนึ่งย่อหนา้ หรอื ปริเฉท (Paragraph) ไปจนถงึ ระดบั ข้อความ (Discourse)การศึกษาภาษาในด้านไวยากรณ์อาจศึกษาเร่ืองต่อไป

2 ก) ระบบคำ (Morphology) เป็นการศึกษาหากฎเกณฑว์ า่ ในภาษาที่กาลังศกึ ษานน้ั หน่วยคาประกอบกันเปน็ คาได้อย่างไร ข) ระบบกล่มุ คำ (Syntax) ศึกษาการประกอบคาเขา้ เป็นวลี การประกอบวลีเขา้ประโยค การประกอบประโยคเขา้ เปน็ ขอ้ ความหนงึ่ ย่อหน้าหรอื อนุเฉท และการประกอบข้อความหนึง่ ยอ่ หน้าเป็นเร่ืองราวหรือ (Discourse) 3) อตั ถศำสตร์ (Semantics) เปน็ การศึกษา “ความหมาย” ในภาษาซ่งึ รวมทง้ั ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งภาษา ความคดิ และพฤตกิ รรม (วิไลวรรณ ขนิษฐานันท์ : 2527)  ภำษำศำสตร์เพมิ่ พนู (Generative Grammar) เปน็ การศึกษาภาษาทุกระดบัตง้ั แตว่ ากยสัมพันธ์ วจวี ภิ าค สรวิทยา และความหมาย นกั ภาษาศาสตร์กลุ่มนี้ถือวา่ ประโยคและความหมายสาคัญท่ีสุด ส่วนคาและเสียงสาคัญรองลงมา จึงศึกษาเร่ืองประโยคก่อน ทฤษฎีที่สาคญัคือทฤษฎปี ริวรรต 2. ภำษำศำสตรเ์ ชงิ ประวัติ (Historical Linguistics) ศึกษาภาษาใดภาษาหนง่ึ ในสมัยที่ต่างกัน การศึกษาภาษาศาสตรส์ าขาน้ที าให้เกดิ ภาษาศาสตรเ์ ปรยี บเทียบ (ComparativeLinguistics) การศึกษาวิธีน้ที าให้ทราบถึงการเปลย่ี นแปลงของภาษาในดา้ นต่าง ๆ เช่น เสยี ง คา วลีประโยค 3. ภำษำศำสตร์ประยุกต์ (Applied Linguistics) ศกึ ษาถึงการนาผลการวเิ คราะห์ภาษาไปใชป้ ระโยชน์ในการเรียนการสอนภาษา เชน่ ถ้าจะสอนภาษาอังกฤษแก่เด็กไทยผสู้ อนจะตอ้ งทาการวิเคราะห์หรือศกึ ษาผลการวเิ คราะห์เรื่อง เสียง คา วลี ประโยค ท้ังของภาษาไทยและภาษาองั กฤษ แลว้ เปรียบเทียบดคู วามเหมือนหรือแตกต่างระหว่างทั้ง 2 ภาษาน้ันก่อน สงิ่ ทีแ่ ตกตา่ งนนั้ แหละคือปญั หาของนักเรียนไทย ดว้ ยวิธีน้ีผสู้ อนจะมองเหน็ ปญั หาได้ง่าย และหาหนทางแก้ไขปัญหาได้ไม่ยากเชน่ เดียวกนั 4. ภำษำศำสตร์เชงิ สงั คมวิทยำ (Sociolinguistics) ศึกษาภาษาในแง่ที่เก่ยี วข้องกับสังคมเช่น ภาษาที่ใชใ้ นสงั คมต่างๆ การเปลย่ี นแปลงของภาษาอนั เนื่องมาจากสังคม หน้าท่ีของภาษาลักษณะการใชภ้ าษาในสงั คมต่าง ๆ ศึกษาลักษณะการใชภ้ าษาในกลุ่มชนท่มี ฐี านะทางเศรษฐกจิอาชีพ ความเปน็ อยู่ที่ตา่ งกนั ศึกษาการใชภ้ าษาในแตล่ ะท้องท่ี เป็นต้น 5. ภำษำศำสตร์เชิงจิตวิทยำ (Psycholinguistics) ศึกษาภาษาในด้านความสัมพันธ์กับองค์ประกอบต่างๆ ตามหลักจิตวิทยา เช่น ศึกษาว่า คนเรียนรู้ภาษาอย่างไร เด็กมีพัฒนาการทางภาษาอย่างไร มีการเรียนรู้ภาษาอย่างไร สติปัญญา ความสามารถในการจาหรือการลืม มีผลต่อความสามารถทางภาษาอย่างไร 6. ภำษำศำสตร์เชิงคณิตศำสตร์ (Mathematical Linguistics) ศกึ ษาภาษาโดยใชเ้ ครอ่ื งมอืคอมพวิ เตอร์ เชน่ ใช้เคร่ืองมือเปน็ เคร่อื งชว่ ยในการอา่ นหนังสือ หรือ บันทึกคาพูดหรือแปลภาษาเปน็ ต้น 7. ภำษำศำสตรเ์ ชิงมำนษุ ยวิทยำ (Anthropological Linguistics) ศึกษาความสมั พนั ธข์ องภาษากับขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม ซง่ึ สามารถศึกษาได้หลายด้าน เชน่ ศึกษาเรือ่ งชาติพนั ธ์ุ ขนบธรรมเนยี มประเพณตี า่ งๆ มาเปรียบเทยี บ เพ่ือหาความสัมพันธข์ องมนุษยชาติ เชน่ คนไทยกบั คนอินโดนเี ซยี คนจีนกบั คนไทย เพ่ือนาผลการวิเคราะห์ไปสนบั สนุนหรือโตแ้ ย้งทฤษฎีตา่ งๆ

3ในภาษาศาสตรท์ ว่ั ไป หรือภาษาศาสตรท์ ว่ั ไป หรือภาษาศาสตร์เชงิ ประวัติ เช่น การจัดกลมุ่ ตระกูลภาษา เป็นต้น ดงั ท่ไี ดก้ ลา่ วถงึ ทฤษฏขี องภาษาศาสตร์มาข้างต้นซึ่งเป็นการศึกษาเร่ืองตัวภาษา (The Studyof Language) ภาษามีองค์ประกอบดังนี้ ภาษาประกอบด้วยเสียง ถึงแม้ว่าบางกลุ่มยังไม่มีระบบตวั เขยี นใช้ แตก่ ถ็ อื ว่าเปน็ ภาษาเช่นภาษาไทเลย หรือไทอีสาน เพราะผู้คนเหล่าน้ีสามารถสื่อสารได้ในชุมชนของเขาเอง ส่วนตัวเขียนนั้นเป็นเพียงแค่สัญลักษณ์ที่คิดข้ึนแทนเสียงหรือคาพูด ท่ีคนพูดต้องการบอกให้ผู้อ่นื ทราบอกี ต่อหนึ่ง เพราะฉะน้ัน เสียงหรือคาพูด จึงถือว่าเป็นส่วนประกอบท่ีสาคัญของภาษา วชิ าสทั ศาสตร์ (Phonetics) น้ศี กึ ษาเกีย่ วกับเสียงพูดของภาษาต่าง ๆ ทุกภาษา โดยไม่จากัดว่าจะเปน็ ภาษาใด ๆ ในโลกน้ี โดยศกึ ษาท่ีเกิดของเสียง การออกเสียง ลักษณะของเสียง อวัยวะต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับการออกเสียง รวมถึงสัญลักษณ์ท่ีใช้แทนการออกเสียงด้วย ส่วนวิชาสรวิทยา(Phonology) เป็นสาขาหน่ึงของภาษาศาสตร์วรรณนา (Descriptive Linguistics) ซ่ึงศึกษาเฉพาะโครงสร้างของภาษาจากข้อมลู ทร่ี วบรวมได้ โดยวิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ มีการจดบันทึก สรุปกฎเกณฑ์และพิสูจน์หลักเกณฑ์ต่าง ๆเกี่ยวกับโครงสร้างและลักษณะของภาษา โดยผู้เก็บรวมรวมข้อมูลต้องมีความรูพ้ ้ืนฐานทางวิชาสัทศาสตร์เสียก่อน มิฉะนนั้ จะเกบ็ ขอ้ มลู มาวเิ คราะห์ไม่ได้

4 เอกสำรอำ้ งองิเทียนมณี บุญจุน (2548) ระบบเสียงในภำษำอังกฤษและภำษำไทย. สานักพิมพ์ิโอเดียนสโตร์ : กรงุ เทพมหานคร.วิไลวรรณ ขนิษฐานันท์ (2527) ภาษาและภาษาศาสตร์. มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร.ปรารมภ์รัตน์ โชติกเสถียร (2544) กำรออกเสียงสระและพยัญชนะในภำษำอังกฤษ. สานักพิมพ์แห่ง จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. กรุงเทพมหานคร.อุดม วโรตม์สิกขดิตถ์ (2513) ภาษาศาสตร์เบื้องต้น. สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคาแหง. กรงุ เทพมหานคร.http://www.wisegeek.com/what-is-phonetics.htmhttp://encyclopedia.kids.net.au/page/de/Descriptive_linguistics

5 Unit 1 : กำรสรำ้ งเสยี งพูดในภำษำ (Speech Sound Production)วัตถุประสงค์ 1. สามารถบอกอวัยวะตา่ งๆ ในการออกเสียงได้ 2. สามารถอธิบายกลไกการเกิดเสียงได้ 3. สามารถบอกลักษณะและตาแหนง่ การเกิดของเสียงได้บทนำ เสียงท่ีมนุษย์เปล่งออกมาเพื่อส่ือความหมายระหว่างมนุษย์ด้วยกันและเพ่ือสนองความต้องการต่าง ๆเช่น ขอความช่วยเหลือแสดงความรู้สึกรัก เกลียด โกรธ ชอบ ไม่ชอบ พอใจ ไม่พอใจ ฯลฯ เกิดจากการสนั่ สะเทอื น และส่งิ ท่ที าใหอ้ วยั วะท่ีใช้ในการออกเสยี งเกดิ การส่นั สะเทือน คือลมจากปอดหรือลมหายใจ ดังน้ันสว่ นสาคัญทเี่ ปน็ บอ่ เกดิ ของเสียงจงึ ได้แก่ลมหายใจหรือกระแสลมทผี่ ่านเข้าออกปอด1. อวัยวะท่ใี ชใ้ นกำรออกเสียง อวัยวะท่ีใช้ในการออกเสยี งประกอบด้วยสว่ นสาคัญ 3 สว่ น ดังน้ี 1.1 จุดเรม่ิ ต้น (Initiation or air-streammechanism ) คือส่วนท่ที าให้เกิดความเคลอื่ นไหวของลมไดแ้ ก่ ปอด (Lungs) กระบงั ลม (Diaphragm) กลา้ มเน้ือชว่ ยหายใจ (Respiratory Apparatus) และกระดูกซ่โี ครง เสยี ง คืออากาศท่ถี ูกผลกั ดันใหเ้ คล่อื นที่และถูกดดั แปลงหรือแปรใหเ้ ปน็ เสยี งประเภทต่าง ๆ โดยการทางานของฐานกรณต์ ่าง ๆ ถา้ ไม่มีอากาศก็จะไม่มีเสียงเกิดขน้ึ การขับเคลื่อนกระแสอากาศมีตน้ กาเนดิ พลังงานจากตาแหน่งท่ีตา่ งกัน เสยี งท่เี กิดขน้ึ จงึ แตกต่างกันไปแหลง่ พลังงาน มี 3 แหลง่ ด้วยกันคอื แหล่งพลังงานจากปอด แหลง่ พลังงานจากกล่องเสยี ง และแหล่งพลังงานจากเพดานอ่อน 1.2 การออกเสียง (Phonation ) คือเสียงเกิดข้ึนได้อย่างไรหรืออวัยวะท่ีทาให้เกิดการแปรคุณภาพเสียง ได้แก่ กล่องเสียง (Larynx) และเส้นเสียงท่ีอยู่ในกล่องเสียง (Vocal Cords) การเกิดเสียงพูดน้ีจะเกี่ยวข้องกับการทางานของเส้นเสียงโดยตรงน่ันคือ การจะเกิดเสียงแบบต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการดัดแปลงรูปแบบการส่ันของเส้นเสียง โดยปกติภาษามีเสียง 2 ประเภท คือ เสียงก้อง (voiced sound) จะเกิดข้ึนโดยมีการสั่นของเสน้ เสียงร่วมดว้ ย และเสียงไมก่ ้อง (Voiceless sound) จะเกดิ ข้ึนโดยไมม่ ีการส่นั ของเสน้ เสยี ง 1.3 การเปลย่ี นแปลงลักษณะของเสียง (Articulation) คืออวัยวะที่ทาให้เสียงที่เปล่งออกมามีลักษณะท่ีต่างกันออกไป ได้แก่ ช่องคอ (Pharynx) ช่องปาก (Oral Cavity) หรือช่องจมูก (Nasal Cavity)การท่ีเสียงจะต่างกันไปอยู่กับการเปลี่ยนรูปและขนาดของช่องปากและทางท่ีลมออกไปสู่จมูก เมื่อกระแสอากาศจากปอด เคลอ่ื นข้ึนสกู่ ล่องเสยี ง และถกู ดดั แปลงคณุ ภาพเสียงใหแ้ ตกตา่ งไปตามรูปแบบการทางานแบบต่าง ๆ ของเสน้ เสียง แล้วตอ่ มาอากาศกจ็ ะเดินทางเขา้ สู่ช่องปาก ซึง่ ประกอบดว้ ยอวัยวะแปรเสียงหรือฐานกรณ์

6มากมาย ซ่ึงทาหน้าท่ีในการกล่อมเกลาเสียงให้ออกมามีคุณลักษณะแตกต่างกัน ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับลักษณะวิธีออกเสยี งด้วย โดยอวัยวะในสว่ นนแ้ี บง่ ออกเปน็ 2 ประเภท คอื (1) อวยั วะทเี่ คล่ือนท่ีไม่ได้ในระหว่างการสรา้ งเสียง (Passive Articulators) เรยี กวา่ ฐาน ได้แก่ รมิฝปี ากบน (Upper lip) ฟนั บน (Upper teeth) ปุ่มเหงือก (Alveolar ridge) เพดานแขง็ (Hard palate)เพดานออ่ น (Soft palate หรอื velum) ล้นิ ไก่ (Uvula) อวัยวะชน้ิ นีแ้ ม้จะถูกจัดอยใู่ นกลุ่มทเ่ี รียกวา่ อวัยวะที่อยูส่ ่วนบนของช่องปากกต็ าม แต่ก็เป็นอวยั วะท่ีสามารถเคลอื่ นท่ไี ด้ (2) อวัยวะที่เคล่ือนที่ได้ระหว่างการสร้างเสียง (Active Articulators) เรียกว่า กรณ์ ได้แก่ ริมฝีปากล่าง (Lower lip) ฟันล่าง (Lower teeth) ล้ิน (Tongue) การเกิดเสียง กระแสอากาศจะต้องถูกกักก้ันในลักษณะใดลักษณะหน่ึง การกักกั้นกระแสอากาศก็จะทาได้โดยอวัยวะกลุ่มท่ีเคลื่อนที่ได้ จะเคล่ือนที่เข้าไปหาหรอื เข้าไปใกล้ หรอื เข้าไปชดิ อวัยวะกลุ่มที่เคล่ือนที่ไม่ได้ ก่อให้เกิดเสียงพยัญชนะประเภทต่าง ๆ ท่ีแตกต่างกันไป ริมฝีปำกทั้งสอง (Lips) ริมฝีปากมีหน้าที่ในการปิดช่องปาก (Oral cavity) ในขณะท่ีกาลัง ทาเสียงพยัญชนะอยู่ ริมฝีปากทั้งสองคู่น้ีอาจอยู่ในลักษณะ “ริมฝีปากห่อกลม” ขณะกาลังออกเสียงพยัญชนะบางตัวคาทีอ่ ยใู่ นรูปคุณศัพท์ คอื Labial (ในภาษาละติน labia แปลว่า ริมฝีปาก) เมื่อใดก็ตามท่ีมีการใช้ริมฝีปากท้ังคู่เป็นฐานกรณ์ เราจะเรยี กเสียงนนั้ วา่ Bilabial sound ฟัน (Teeth) ฟันก็เป็นอวัยวะอีกช้ินหน่ึงท่ีมีบทบาทในการทาให้เกิดเสียงพูด เสียงที่เกิดท่ีฐานฟันเรียกว่า dental sounds (ในภาษาละติน dentesแปลว่า ฟัน) ส่วนมากในการทาให้เกิดเสียงในภาษานั้นฟันบนจะมบี ทบาทมากกว่าฟันลา่ ง ล้ิน (Tongue) ลิ้นเป็นอวัยวะออกเสียงท่ีมีความอ่อนพร้ิวมากท่ีสุดในบรรดาอวัยวะออกเสียงท้ังหมดคาว่าtongue นใ้ี นหลายๆ ภาษามคี วามหมายว่า “ภาษา” เนื่องจากล้ินเป็นอวัยวะที่มีความยืดหยุ่นตัวสูงจังทาให้ลิ้นเป็นต้นกาเนิดเสียงพูดจานวนมาก ท้ังน้ีก็เน่ืองจากการใช้ตาแหน่งต่างๆ และการจัดท่าต่างๆ ของลิ้นนัน่ เอง เราวสามารถแบ่งล้นิ ออกเปน็ ตาแหน่งต่างๆ ไดอ้ ย่างครา่ วๆ ดังน้ี คือ – ปลายลิ้นหรอื ลิ้นส่วนปลาย (Tip of the tongue) – ส่วนต่อจากปลายลนิ้ (Blade of the tongue) – ลน้ิ สว่ นหน้าหรือลนิ้ ส่วนตน้ (Front of the tongue) – ลนิ้ ส่วนกลาง (Center of the tongue) – ล้ินส่วนหลงั (Back of the tongue) – โคนลิ้น (Root of the tongue)คาคุณศัพทข์ องคาว่า ลิน้ คือ Lingual, ส่วนคาคุณศัพทข์ องคาว่า tip และ blade คอื apical และ laminalตามลาดบั ปุ่มเหงือก (Alveolar ridge หรือ Gum ridge) คือส่วนทีอ่ ยู่ต่อจากฟนั บน รปู คุณศัพทข์ องคาๆ นค้ี อืalveolar เพดำนแข็ง (Hard palate) คาน้ีมาจากภาษาละตินว่า Palatum โดยทั่วไปถ้ากล่าวถึง Palate เฉยๆมักจะเป็นที่เข้าใจกันโดยท่ัวๆ ไปว่าหมายถึง เพดานแข็ง หรือ Hard palate แต่ถ้าจะหมายถึงเพดานอ่อน(Velum) จะตอ้ งกล่าวเตม็ รูปว่า Soft palate เสมอ บริเวณที่เรียกว่า เพดานแข็งเร่ิมต้นจากส่วนปลายสุดของปุ่มเหงอื กมายงั ส่วนต้นของเพดานอ่อน รปู คาทเี่ ปน็ คาคุณศพั ท์ของคาๆ นี้ คอื Palatal เพดำนอ่อน (soft palate มาจากภาษาละตินว่า Velum) เพดานอ่อนคือส่วนของเพดานปากท่ีอยู่ต่อจากเพดานแข็ง หน้าที่ของเพดานอ่อนในเรื่องภาษาหรือการพูดมี 2 อย่าง คือเพดานอ่อนอาจทาหน้าท่ีเป็น

7Passive articulator ให้ลิ้นส่วนหลัง เลื่อนเข้ามาใกล้หรือเลื่อนมาชิดเพ่ือให้เกิดเสียงในกรณีน้ีเราเรียก เสียงท่ีเกิดขึน้ วา่ Velar sound กรณี 2 เพดานออ่ นสามารถท่ีจะเลอ่ื นข้นึ หรอื ลงได้ ถ้าเพดานอ่อน ลดระดับลงมาก็จะทาใหม้ รช่องทางของอากาศส่โู พรงจมูก ทาใหเ้ กดิ เสยี งนาสกิ (Nasal sound) แต่ถ้าเพดานอ่อนยกตัวขึ้นไปก็จะไปปดิ กน้ั ทางเดินของอากาศท่ีจะเขา้ สู่โพรงจมูกทาให้อากาศระบายออกทางช่องปากได้ทางเดียว ทาให้เกิดเป็นเสียงพยัญชนะท่ีเรียกว่าเสียงช่องปาก (Oral sound) และถ้ามีลมระบายออกทางปาก และจมูกพร้อมๆกัน ก็อาจเกิดเปน็ พยัญชนะ หรอื สระแบบท่มี ีเสียงขึ้นจมูก (Nasalized sound) เสียงที่เกิดจากการเคลื่อนตัวของลิ้นส่วนหลัง สู่เพดานอ่อนเรียกว่า Velar Sounds ส่วนปลายสุดของเพดานอ่อนท่ีเป็นต่ิงห้อยลงมาคือล้ินไก่(Uvular) และเสียงทลี่ ิ้นไก่ทาหนา้ ทเ่ี ป็นส่วนฐานกรณ์ จะมีชือ่ ว่า Uvular sound ชอ่ งปำก (Oral cavity) ช่องปากนเ้ี ป็นอวยั วะอีกสว่ นหน่งึ ที่มีความสาคัญในการพูด กล่าวคือ ช่องปากจะทาหน้าที่เป็น Resonance chamber ซึ่งมีบทบาทมากในการสั่นสะท้อนเสียงท่ีเดินทางผ่านมาถึงบริเวณนี้ท้ังนี้เพราะชอ่ งปากสามารถจะเปล่ียนแปลงเป็น Resonance chamber รูปร่างต่างๆ กัน เน่ืองจากรูปร่างของมันแปรผันไปตามการจัดท่าของลิน้ ริมฝีปาก และขากรรไกร โพรงจมูก (Nasal cavity) คุณสมบัตหิ รอื ลักษณะของเสยี งพดู ท่ีเกดิ ข้นึ จะแปรผันไปตามการปิดเปดิของชอ่ งทางออกของอากาศที่จะออกสโู่ พรงจมูก ซึง่ เปน็ ผลมาจากการยกขน้ึ หรือเลอ่ื นลงของเพดานออ่ น ช่องคอ (Pharynx) ช่องคอคือช่องทางเดินของอากาศ ท่ีอยู่ด้านหลังของโคนลิ้น ทาหน้าที่เป็นresonance chamber อีกอันหน่ึง ในบางภาษารูปร่างของช่องคอน้ีจะแปรผันไปเพ่ือให้คุณภาพเสียงที่เปล่งออกมามลี ักษณะต่างๆ เช่นในภาษาอาหรับ จะมีเสียงประเภทหน่ึงที่เรียกว่า Emphatic sounds เป็นกลุ่มของเสียงทม่ี ีการตีบช่องคอ โดยการเคล่ือนโคนลิ้นเข้าหาผนังช่องคอทางด้านหลังร่วมกับการทางานของฐานกรณ์ที่ทาให้เกดิ เสยี งนน้ั โดยตรง หลอดลม (Trachea) เป็นช่องทางเดินของอากาศที่เชื่อมโยงระหว่างกล่องเสียงไปยังปอด โดยการเช่ือมโยงของท่อลมเล็กๆ ในปอด (Bronchi) ขณะท่ีมีการกินอาหารหรือการกลืนอาหาร ช่องทางเข้าหลอดลมจะถูกปิดโดย Epiglottisหรือบางท่านเรียกล้ินกล่องเสียง ซ่ึงจะช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอาการสาลัก อันเนือ่ งมาจากอาหารตกลงไปในหลอดลม นอกเหนือจากอวยั วะออกเสียงทก่ี ลา่ วมาแล้ว ยังมีอวัยวะท่ีมบี ทบาทสาคัญอย่างย่ิงในการผลติ เสยี งพูดซ่งึ จะกลา่ วถึงในรายละเอยี ดให้มากเป็นพิเศษอีก 2 ส่วน คือ ปอด และกล่องเสียง กล่องเสียง (Larynx) กล่องเสียงเป็นอวัยวะท่ีอยู่ตอนบนสุดของหลอดลมมีความซับซ้อนภายในตัวกล่องเสียงประกอบด้วยกระดูกอ่อนหลายช้ินจัดตัวเรียงกันอยู่ในลักษณะช่วงบนกว้าง ช่วงล่างแคบ ยึดติดกันโดยเอ็น พงั ผืด กล้ามเน้อื และข้อตอ่ กระดูกชิน้ สาคัญๆ ทป่ี ระกอบกันเปน็ กลอ่ งเสยี งมี 4 ชิ้น คือ – Hyoid bone เป็นขอบเขตบนสดุ ของกลอ่ งเสียง และเป็นทเ่ี กาะของกล้ามเนอ้ื ล้ิน – Thyroid cartilage อยทู่ างดา้ นหนา้ ส่วนหน่งึ คือบรเิ วณที่เรยี กวา่ ลูกกระเดือก (Adam’s apple) – Cricoid cartilage เปน็ กระดกู อ่อนทีเ่ ล็ก แตห่ นาและแขง็ แรงมาก อยู่ในระดับตา่ ท่ีสุดในกลอ่ งเสียงทาหน้าทเี่ ปน็ ฐานของกลอ่ งเสียง – Arytenoid cartilage เปน็ กระดูกอ่อนชิ้นเลก็ ๆ 2 ชิ้น รปู ร่างคล้ายปริ ามิด อยู่ติดกับผิวดา้ นหลงัตอนบนของ cricoid cartilage เราสามารถจะสัมผัสบางส่วนของกล่องเสียงได้โดยวางทาบนิ้วมือไปท่ีลาคอส่วนหน้า ซึ่งจะสัมผัสกับสว่ นหนา้ ของกลอ่ งเสยี งซ่ึงเป็นสว่ นของกระดูกอ่อน Thyroid และจะหาได้ง่ายมากในเพศชาย โดยจับที่บริเวณทีเ่ รียกวา่ ลกู กระเดือก ซ่ึงเป็นมุมประมาณ 70 องศา อย่างไรก็ตามในเพศหญิงก็สามารถคลาหากระดูกอ่อนช้ินน้ีได้ไม่ยาก โครงสร้างภายในของกล่องเสียงจะเหมือนกันหมดทั้งเพศหญิงและเพศชาย ส่วนท่ีต่างกันก็คือ

8ขนาดของกล่องเสยี ง ผู้ชายจะใหญ่กว่าผหู้ ญงิ ด้านบนของกลอ่ งเสียงจะอยู่ต่อขากโคนล้ิน ส่วนด้านล่างจะเชื่อมติดกันกับกระดูกวงแหวนข้อแรกของหลอดลม ทางด้านหลังจะสัมผัสกับช่องคอ (Pharynx) ตรงบริเวณที่เปิดเข้าสู่หลอดอาหาร (Esophagus) ภายในกล่องเสียงจะมีอวัยวะที่ทาหน้าท่ีสาคัญมากในการพูดคือ เส้นเสียง(Vocal cords) วางพาดอยู่ เส้นเสียง (Vocal cords, Vocal folds, vocal bands, vocal lips, true vocal folds) เส้นเสียงมีชื่อทางกายวิภาคว่า Plicae มีบทบาทมากในการทาให้เกิดเสียงพูดในภาษา มีลักษณะท่ีเป็นกล้ามเนื้อคู่พิเศษซึ่งประกอบด้วยแผ่นเน้ือเยื่อ (Tissue) และเอ็น (Ligament) วางพาดอยู่ในแนวนอน แถบช่วงกลางของกล่องเสียง ซงึ่ ไม่มบี ทบาทในการเปลง่ เสยี งพูดตามปรกติ แตส่ ามารถเปดิ ปดิ ได้ เพอ่ื กนั ไมใ่ ห้อากาศออกจากหลอดลม กล้ามเนอื้ ทปี่ ระกอบเป็นเสน้ เสยี งท้ังคู่จะเริ่มจากผิวทางด้านหลังของกระดูก Thyroid ตรงมุมหลังด้านใน โดยรวมเป็นจุดร่วมจุดเดียวแล้วแยกห่างออกจากกันมาเกาะท่ีปุ่มกระดูก Arytenoids ซึ่งอยู่ด้านหลังของกล่องเสียง ผิวด้านในของกล่องเสียงเป็นบริเวณท่ีเปิด ไม่ได้ยึดติดกับอะไร เส้นเสียงจะเปิดและปิดโดยการทางานของกระดูกอ่อน Arytenoids ซึ่งจะดึงกล้ามเนื้อเส้นเสียงให้ลู่เข้าหากันหรือแยกออกจากันจะมีช่องว่างระหว่างเส้นเสียงเกิดข้ึน มีช่ือว่า glottis หรือ Rimaglottidis ซ่ึงสามารถจะเปล่ียนแปลงขนาดและรูปร่างออกไปได้หลายแบบข้ึนอยู่กับการทางานของกระดูกอ่อน Arytenoids นอกจากนี้การตึงตัวของเส้นเสียงยัง

9ปรับเปลี่ยนได้ตามการเปล่ียนแปลงของกระดูกอ่อน Thyroid ทั้งนี้เม่ือเส้นเสียงวางตัวอยู่ตามปรกติจะมีลักษณะมน แตเ่ มื่อถกู ดึงให้ตงึ จะมลี กั ษณะเป็นสัน เส้นเสียงจะทางานในรูปแบบต่างๆ กัน ทาให้เกิดเสียงต่างๆ โดยท่ัวๆ ไปการทางานของเส้นเสียงจะขึ้นอยู่กับรปู แบบของการสัน่ (Vibrate) ของเส้นเสยี งเปน็ สาคัญ ท้ังน้ีการส่ันของเส้นเสียงยังจะข้ึนกับขนาดของเส้นเสียงด้วย เปรียบเหมือนเคร่ืองสายลักษณะต่างๆ ทาให้เกิดเสียงดนตรีท่ีแตกต่างกันไปและขนาดของเส้นเสียงท่ีว่านี้จะแตกต่างกันตามอายุ เพศ และพัฒนาการทางกายภาพของแต่ละบุคคลอีกด้วย ตรมปรกติ เด็กและผู้หญิงจะมีเส้นเสียงท่ีส้ันและเล็กกว่าผู้ชาย กล่าวคือ โดยท่ัวๆ ไปเสียงเด็กจะสูงกว่าเสียงผู้หญิง และเสียงผู้หญงิ จะสูงกว่าเสยี งผูช้ าย ปอด (Lungs) เป็นอวัยวะท่ีสาคัญอีกชิ้นหน่ึงในการผลิตเสียงพูด เป็นต้นกาเนิดใหญ่ของพลังงานที่ทาใหเ้ กิดเสียง ปอดตง้ั อยใู่ นบรเิ วณทรวงอก (Thoracic cavity) ลกั ษณะภายนอกของปอด เป็นเนื้อเย่ือชนิดพิเศษมีลักษณะนิ่มคล้ายฟองน้า ไม่มีกล้ามเน้ือหรือกระดูกประกอบอยู่ โดยปรกติมีสีชมพูเรื่อๆ ได้รับการห่อหุ้มป้องกันโดยกระดูกซ่ีโครง ซ่ึงอ้อมจากทางด้านหลังมาทางด้านหน้าเชื่อมกับกระดูกอก (Sternum) ยกเว้นกระดูกซ่ีโครงสองคู่ล่างสุด ซึ่งไม่ได้เชื่อมติดกับกระดูกอก ภายในปอดประกอบด้วยถุงลมเล็กๆ (Alveoli)มากมาย ซึ่งทาหน้าท่ีฟอกโลหิต และในถุงลมเล็กๆ นี้จะประกอบด้วยหลอดลมฝอยจานวนมากซ่ึงรวมกันเป็นหลอดลมแขนงใหญ่ 2 หลอด เรยี กวา่ Bronchi ซ่งึ จะเชอื่ มตวั กบั หลอดลมอีกทหี น่งึ ปอดมี 2 ข้าง แต่ละข้างจะมีจานวนกลับไม่เท่ากัน คือ ปอดข้างขวาจะมี 3 กลีบ และปอดข้างซ้ายจะมีกลีบ 2 กลีบ บริเวณที่ใต้ปอดจะเป็นกระบงั ลม (Diaphragm) ซ่ึงมีลักษณะคล้ายโดมหรือฝาชีคว่า ตัวปอดเคล่ือนไหวไม่ได้ แต่เนื้อเย่ือของปอดยืดหยุ่นได้ด้วยการทางานของอวัยวะอื่นๆ เช่น กล้ามเน้ือระหว่างกระดูกซ่ีโครง (Intercostal muscle) และกระบงั ลม

102. กำรเกิดของเสียง (Speech sound) เสียงเกิดจากลมหายใจออก จึงถือได้ว่า \"ปอด\" เป็นต้นกาเนิดของเสียง โดยกระบวนการออกเสียงเร่ิมขึ้นเมื่ออากาศออกจากปอดผ่านไปทางเส้นเสียง และเม่ือเส้นเสียงสั่นก็จะเป็นเสียงประเภทหนึ่ง ซึ่งแตกต่างจากเสียงที่ผ่านเส้นเสียงแล้วไม่มีการสั่นสะเทือนเกิดข้ึน จากน้ันเสียงจะผ่านเข้าสู่ช่องคอ และถ้าเสียงออกจากตัวผพู้ ูดทางจมกู (ปากปิด) ก็นับเป็นเสียงนาสิก (Nasal) ซ่ึงต่างจากเสียงที่ออกทางปาก(Oral) และนอกจากน้ี\"ล้ิน\" ก็นับเป็นอวัยวะสาคัญที่ทาให้เกิดเสียงต่างๆ เมื่อล้ินสัมผัสเพดานในจุดต่างๆ ช่องปากก็จะเกิดเป็นห้องเสยี งรปู ต่างๆซ่ึงทาให้เกดิ เสียงท่ีตา่ งกันไป เชน่ ถา้ ลิ้นสัมผสั เพดานสว่ นหน้าและเสียงออกจากปาก (เช่น น,ด,ล)ก็จะมีลักษณะที่ต่างจากเสียงท่ีโคนลิ้นปิดกั้นอยู่ที่เพดานอ่อน (เช่น ก,ข,ค) เสียงที่เกิดจากฟันบนขบริมฝีปากล่าง (เช่น ฝ,ฟ) และเม่ือริมฝีปากบนและล่างแตะกัน ก็เกิดเป็นเสียงที่ต่างออกไปอีก (เช่น บ,พ) สรุปก็คือนอกจากเส้นเสียงท่ีทาให้เกิดเสียงในเบ้ืองต้นแล้ว ยังมีอวัยวะอ่ืนๆ เช่น ล้ิน ฟัน ริมฝีปาก และเพดานปากก็มีสว่ นทาให้ เกิดเสยี งลกั ษณะต่างๆ ไดเ้ ช่นกนั

11 ลม ไมส่ น่ัปอด เส้นเสยี ง ชอ่ งคอ สน่ั จมกู เสยี งนาสิกปาก ล้นิ ฟัน เสียงต่างๆ รมิ ฝปี าก เพดาน สรุป เสยี งพูดในภาษา เกดิ จากการเคลื่อนไหวของล้นิ และรมิ ฝปี ากในลักษณะตา่ งๆ มนษุ ย์สามารถสื่อสารได้โดยใช้เสียงในการพูด และการเคลอ่ื นไหวของลิ้นและรมิ ฝีปากในรูปแบบต่าง ๆ ทาให้เราได้ยินเสียงต่าง ๆ และเกดิ ความเข้าใจในการสื่อสารได้ ในบทน้ีจะกล่าวถึงวิธีการสร้างเสียงพูด โดยเสียงพูด เกิดจากการสั่นสะเทือนเป็นลมหายใจที่ผ่านออกจากปอด เม่ือกระแสลม (Airstreams) ที่ผ่านปอด ถูกปิดก้ัน หรือถูกบีบจากอวัยวะภายในปาก ลมท่ีจะออกไปในทิศทางท่ีต่างกัน จึงทาให้เกิดเสียงท่ีแตกต่างกันไป โดยปกติคนเราจะเปล่งเสยี งพดู ขณะทห่ี ายใจออก กระบวนการออกเสียงนั้นประกอบด้วยสว่ นสาคัญ 3 สว่ น ดงั น้ี ส่วนเร่ิมต้นท่ีทาให้เกิดกระแสลม (Initiation) ได้แก่ช่วงลาตัว ท่ีมีอวัยวะสาคัญคือปอด (Lungs) กระบังลม (Diaphragm) กล้ามเน้ือช่วยหายใจ (Respiratory Apparatus) และกระดูกซี่โครงที่ทาหน้าท่ีส่งลมออกมาจากปอด ส่วนท่ีทาให้เกิดเสียง (Phonation) คืออวัยวะท่ีทาให้เกิดการแปรคุณภาพเสียง ไดแก่กล่องเสียง(Larynx) ซ่ึงภายในกลอ่ งเสียงจะประกอบดว้ ยเส้นเสียง (Vocal Cords) ที่มีแผ่นเอ็นบาง ๆ สองเส้นวางขนานอยู่ในแนวนอน เส้นเสียงน้ีสามารถยืดหยุ่นและเคล่ือนไหวได้ตามกระแสลมในขณะหายใจออก หรือเม่ือออกเสยี งพยัญชนะประเภทกอ้ ง (Voiced) กับไมก่ ้อง (Voiceless) ส่วนท่ีเปลี่ยนแปลงลักษณะของเสียง (Articulation) คืออวัยวะที่ทาให้เสียงที่เปล่งออกมาน้ัน มีลักษณะแตกต่างกัน ได้แก่ช่องคอ (Pharynx) ช่องปาก (Oral Cavity) หรือช่องจมูก (Nasal Cavity) ท้ังสามส่วนน้ีเรียกว่าช่องทางเดินของเสียง (Vocal Tract) โดยท่ีเสียงเปล่งออกมาน้ันแตกต่างกันเน่ืองจากการเคล่ือนไหวของอวัยวะภายในปาก

12 แบบฝกึ หัด1. คำส่ัง จงโยงเส้นเพื่อจบั คู่อวยั วะตอ่ ไปน้ีใหถ้ ูกตอ้ ง ริมฝีปากทัง้ สอง Diaphragm ฟัน Lungs ล้ิน Glottis Vocal cords ปลายลิน้ Adam’s apple โคนลิน้ Cricoid cartilage ปมุ่ เหงือก Larynx เพดานแข็ง Trachea เพดานออ่ น Pharynx ชอ่ งปาก Nasal cavity โพรงจมูก oral cavity ชอ่ งคอ uvular หลอดลม soft palate กลอ่ งเสียง the palate ลกู กระเดือก alveolar ridge ฐานกลอ่ งเสียง root of the tongue เสน้ เสยี ง tip of the tongue tongue ปอด teeth กระบงั ลม lipsช่องว่างระหวา่ งเส้นเสียง ลนิ้ ไก่

132. คำสงั่ จงเขยี นศพั ท์เฉพาะ (Technical terms) ของอวัยวะในการออกเสยี งให้ถูกต้อง

143. คำสั่ง จงตอบคาถามให้ถูกตอ้ ง1. อวัยวะท่ีมบี ทบาทในการทาใหเ้ กดิ เสยี งพูด เสียงทเ่ี กดิ เรียกว่า dental sounds คือ ..................................2. อวัยวะออกเสยี งที่มคี วามอ่อนพลิว้ มากทีส่ ุดในบรรดาอวัยวะออกเสยี งท้ังหมด คือ ..................................3. ส่วนของเพดานที่สามารถเลอื่ นขนึ้ หรอื ลงได้ คือ ..................................4. ส่วนปลายสดุ ของเพดานอ่อนทเี่ ป็นต่งิ ห้อยลงมา คือ ..................................5. ช่องทางเดินของอากาศ ท่ีอยู่ด้านหลังของโคนล้ิน คอื ..................................6. ขณะที่มกี ารกนิ อาหารหรือการกลนื อาหาร ชอ่ งทางเข้าหลอดลมจะถูกปดิ โดย ……………………..7. อวยั วะท่อี ยตู่ อนบนสดุ ของหลอดลม คือ ..................................8. เสยี งทอี่ อกจากตวั ผู้พูดทางจมูก คือ ..................................9. อวยั วะที่มีลกั ษณะนม่ิ คลา้ ยฟองน้า คือ ..................................10. อวัยวะที่ไม่สามารถเคล่อื นไหวได้ คือ ..................................

15 เอกกำรอำ้ งองิเทยี นมณี บุญจุน (2548) ระบบเสียงในภำษำองั กฤษและภำษำไทย. สานักพมิ พิ์โอเดยี นสโตร์ : กรุงเทพมหานคร.วิไลวรรณ ขนษิ ฐานันท์ (2527) ภาษาและภาษาศาสตร.์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร.์ กรุงเทพมหานคร.ปรารมภ์รตั น์ โชติกเสถียร (2544) กำรออกเสียงสระและพยัญชนะในภำษำองั กฤษ. สานักพมิ พ์แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . กรุงเทพมหานคร.อดุ ม วโรตมส์ ิกขดติ ถ์ (2513) ภาษาศาสตรเ์ บื้องตน้ . สานักพมิ พม์ หาวิทยาลยั รามคาแหง. กรงุ เทพมหานคร.Catford L.C., (2001) A Practical Introduction to Phonetics. Oxford University Press.Pongthep Bunrueng. (2017) English Phonetics and Phonology. n.p.

16 Unit 2 : เสียงพยญั ชนะในภำษำองั กฤษ (English Consonant Sounds)วตั ถปุ ระสงค์ 1. สามารถออกสยี งพยัญชนะตน้ คาและทา้ ยคาในภาษาองั กฤษได้ 2. สามารถบอกลักษณะการออกเสยี งพยัญชนะภาษาองั กฤษไดต้ ้อง 3. สามารถเขียนสญั ลกั ษณ์ทางสทั ศาสตร์ของเสียงพยญั ชนะได้บทนำ เสียงพยัญชนะคือเสียงที่เกิดจากการทางานและความสัมพันธ์ของระบบในร่างกาย เร่ิมตั้งแต่กระแสลมออกจากปอด ถกู ดันออกมาทางหลอดลม ผ่านเส้นเสียงและกล่องสียง มาถูกอวัยวะท่ีอยู่ต้ังแต่ช่วงลาคอทาการปดิ กกั แล้วปลอ่ ยให้กระแสลมผา่ นออกมาทางช่องปากหรอื ช่องจมูก จุดประสงค์สาคัญของการส่ือสารภาษาอังกฤษในปัจจุบัน คือ การเน้นให้ ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาส่ือความหมายได้ทั้งการพูดและการเขียน หรือ มีครบท้ัง 4 ทักษะ คือ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนนกั ศกึ ษาจาเป็นต้องเรียนรู้ทักษะดังกล่าวเป็นอย่างมาก อีกท้ังนักศึกษาเรียนวิชาเอกภาษาจีน อังกฤษ เป็นผู้รู้2 ภาษา ทาให้สามารถเทยี บเสียงและถ่ายโอนความสามารถทางภาษาองั กฤษสลับกบั ภาษาจีนได้ ตามหลักภาษาศาสตร์ส่ิงแรกท่ีครคู วรรู้จัก คอื เรื่องเสียง เพราะเสียงเป็นสว่ นประกอบทส่ี าคัญของภาษา และในแตล่ ะภาษาก็ยอมจะมีระบบเสียงของตนโดยเฉพาะ ดังนั้น การศกึ ษาถงึ เรื่องที่เกดิ ของหน่วยเสียง(Phonemes) หนว่ ยเสยี งตา่ ง ๆ ทงั้ สระและ พยัญชนะ การเนน้ คา และการลงจงั หวะต่าง ๆ จงึ เปน็ สิง่ จาเป็นสาหรบั นกั ศึกษาเป็นอย่างมาก ภาพประกอบต่อไปนแี้ สดงสัญลกั ษณ์ทางสทั ศาสตร์ของหนว่ ยเสียงพยญั ชนะในภาษาอังกฤษ ภำพประกอบ สญั ลักษณท์ างสัทศาสตรข์ องหนว่ ยเสยี งพยัญชนะ เสยี งในภำษำอังกฤษแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ 1. เสยี งพยัญชนะ (Consonant Sounds) 2. เสียงสระ (Vowel Sounds)1. เสยี งพยัญชนะ (Consonant Sounds)

17เสยี งพยัญชนะในภาษาอังกฤษมี 24 เสียง และแบ่งเปน็ 3 ชนดิ คอื 1. แบ่งตามตาแหน่งทีเ่ กิดเสียง (Points of Articulation) 2. แบ่งตามลกั ษณะการออกเสียง (Manners of Articulation) 3. แบ่งตามการสน่ั หรือไมส่ ั่นของเสน้ เสยี งในการเปล่งเสยี งของพยัญชนะ (Voicing)1.1 กำรแบง่ ตำมตำแหนง่ ที่เกดิ เสียง (Points of Articulation) ในการออกเสยี งพยัญชนะต่าง ๆ เราควรรถู้ งึ ทเี่ กิดและอวยั วะทท่ี าใหเ้ กดิ เสียงนั้น ๆและถา้ จะแบ่งตามตาแหน่งท่ีเกดิ เสยี ง จะแบ่งไดด้ ังต่อไปนี้ 1. เสยี งทเ่ี กดิ จากริมฝปี ากบนและล่าง (bilabial sounds) ไดแก่ เสยี ง /p/, /b/, /m/ และ /w/ 2. เสียงที่เกิดจากริมฝีปากและฟัน (labio-dental sounds) ไดแก่ เสยี ง /f/ และ /v/ 3. เสยี งที่เกดิ ระหว่างฟัน (interdental sounds) ไดแกเ่ สียง / θ /และ /ð/ 4. เสยี งทเี่ กิดจากป่มุ เหงือก (alveolar sounds) ไดแก่ เสยง /t/, /d/, /s/, /z/, /l/,และ /n/ 5. เสยี งทเ่ี กิดหลังปุม่ เหงือก (post-alveolar sounds) ไดแ้ ก่ เสียง / ʃ /, / ʒ / 6. เสยี งทีเ่ กิดจากเพดานแข็ง (palatal sound) ได้แก่เสยี ง /j/, /t/, / dʒ /, /r/ 7. เสียงทเี่ กิดจากเพดานออ่ น (velar sounds) ไดแ้ ก่เสียง /k/, /g/ และ / ŋ / 8. เสยี งทเ่ี กดิ จากช่องระหวา่ งเส้นเสียง (glottal sound) ไดแ้ ก่เสยี ง /h/1.2 กำรแบง่ ตำมลักษณะของกำรออกเสียง (Manners of Articulation) การแบง่ ตามลักษณะการออกเสียง แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ได้ ดังน้ี 1. เสยี งกักหรือเสียงระเบิด (plosive sounds) เป็นลักษณะของเสยี งที่เกิดจากคฐู่ านกรณค์ ใู่ ดคู่หนง่ึ ปิดก้ันทางลมไว้สนทิ สักครู่แล้วปลอ่ ยให้ลมพุ่งออกมาในลกั ษณะระเบิดมีทง้ั หมด 6 เสยี งไดแ้ ก่ เสียง /p/,/b/, /t/, /d/, /k/, /g/ 2. เสียงกักเสียดแทรก (affricate sounds) เปน็ เสียงที่ไม่มใี นภาษาไทย ลกั ษณะการออกเสียงจะคล้ายการออกเสยี งกัก คือกกั ลมไว้ก่อนแลว้ ค่อยปล่อยลมเสยี ดแทรกออกมา จะไม่ปลอ่ ยระเบิดออกทเ่ี ดยี วเสียงกักเสยี ดแทรกเส้นเสียงจะไมส่ ั้นหรือไม่ก้อง ได้แก่เสยี ง / tʃ /, /dʒ/ 3. เสียงเสียดแทรก (fricative sounds) เปน็ ลักษณะของการเกดิ เสียงเมอื่ อวัยวะทัง้ สองเคล่อื นเขา้ หากนั เพอ่ื ใหล้ มได้พุ้งเสยี ดแทรกออกมา อาจเปน็ การเสียดแทรกผ่านริมฝปี ากและฟนั บน หรือฟันและลิน้เป็นต้น เกิดได้ท้ังเส้นเสียงส่ันและเสยี งไมส่ นั่ ไดแ้ กเ่ สยี ง /f/, /v/, / θ /, /ð/, /s/, /z/, / ʒ /, /h/, / ʃ / 4. เสียงนำสิก (nasal sounds) การออกเสยี งพยญั ชนะกลุม่ นาสิก คลา้ ยกบั การออกเสยี งกัก(plosive) ในขณะออกเสยี งนาสกิ ลน้ิ ไกจ่ ะไม่เคลื่อนไปแตะทีผ่ นังชอ่ งคอ เชน่ กลมุ่ เสียงกกั เพราะจะปลอ่ ยลมให้เคล่ือนส่โู พรงจมูก และมลี ักษณะเส้นเสียงสัน่ หรอื เสยี งก้องท้งั หมด ไดแ้ ก่เสยี ง /m/, /n/, / ŋ / 5. เสียงข้ำงล้นิ (lateral sound) คือลมที่ออกจากปากทางดา้ นข้างของล้ิน เม่อื ลมที่ผา่ นเส้นเสียงขึ้นมาถึงช่องปาก ใหล้ ้ินกดเพดานตรงแนวชอ่ งกลางล้ินไวแ้ ล้วปลอ่ ยใหล้ มออกทางดา้ นขา้ งๆไดแ้ ก่เสียง /l/ 6. เสยี งกระดกล้ิน (Tap or flap) เกิดจากการยกปลายล้ินใหอ้ ย่สู ่วนหลงั เพดานปากส่วนหน้า

18แล้วค่อยลดปลายลิน้ ลง ไดแ้ ก่เสยี ง /r/ สาเนยี งอังกฤษมักไม่ออกเสยี ง /r/ ทีท่ ้ายคา แตอ่ เมริกนั จะออกเสียงดังกล่าว 7. เสียงก่ึงสระ (semi-vowel sounds) เกดิ รมิ ฝปี ากทั้งสอง ออกเสียงคล้าย ว ในภาษาไทยเสยี งนเี้ กดิ ี่ต้นคาหรือระหว่างคาเทา่ น้นั ไดแ้ ก่เสยี ง /w/, /y/1.3 กำรแบง่ ตำมกำรส่นั หรอื ไม่ส่นั ของเส้นเสียงในกำรเปลง่ เสียงพยัญชนะ (Voicing) เสียงพยญั ชนะในภาษาอังกฤษ แบง่ เปน็ 2 ลกั ษณะ คอื 1. เสยี งพยญั ชนะทีเ่ ปน็ เสียงโฆษะ/เสียงสน่ั (voiced) จานวน 15 เสียง ได้แก่ /b/, /d/, /g/, /v/, /ð/, /z/, /dʒ/, /ʒ/, /m/, /n/, /ŋ/, /l/, /r/, /w/, /y/ 2. เสยี งพยญั ชนะที่เป็นเสียงอโฆษะ/เสียงไม่สน่ั (voiceless) จานวน 9 เสยี ง ไดแ้ ก่ /p/, /t/, /k/, /f/, /θ/, /s/, / tʃ /, /ʃ/, /h/

19 ตำรำงแสดงกำรแบง่ หนว่ ยเสยี งพยัญชนะในภำษำองั กฤษลกั ษณะกำรออก ตำแหนง่ กำรเกิดเสยี ง (Points of Articulation)เสียง (Mannerof Articulation) ริม ริมฝปี าก- ฟนั ปมุ่ เหงอื ก หลังปุ่ม- เพดาน เพดาน ช่องคอ ฝปี าก ฟัน (inter- (alveolar) เหงือก แขง็ อ่อน (glottal) (bilabi (labio- dental) (Post- (palatal) (velar) al) dental) alveolar)เสียงระเบิดหรือกกั voiceless /p/ /t/ /k/(Plosive/stop) /d/ /g/ voiced /b/เสยี งกึ่งเสยี ด voiceless /tʃ/ แทรก voiced /dʒ/(Affricate)เสียงเสยี ดแทรก voiceless /f/ / θ/ /s/ / ʃ/ /h/ (Fricative) /v/ /ð/ /z/ / ʒ/ voicedเสียงนำสิก voiced /m/ /n/ /ŋ/(Nasal)เสียงกระดกลิน้ voiced /r/(Tap or Flap)เสยี งข้ำง voiced /l/ ลน้ิ(Lateral)เสยี งกงึ่ voiced /w/ /j/สระ(Semi-vowel)

20 Consonant Sounds1. เสียงพยญั ชนะ /p/, /b/, /m/ (Bilabial stops) เสยี งพยัญชนะ /p/, /b/ เปน็ เสียงท่ีเกิดทรี่ ิมฝปี าก ลมทผ่ี ่านจากปอดจะถูกกักไว้ ขณะหนง่ึ ในขณะทรี่ ิมฝปี ากบนและล่างปิดสนทิ แล้วจึงปลอ่ ยลมออกมา เสียง /p/ และ /b/ จะต่างกันคือเสยี ง /p/ เป็นเสียงไม่ก้อง คือเส้นเสียงไมส่ ่ัน แตเ่ สียง /b/ จะเปน็ เสยี งกอ้ ง เสน้ เสยี งส่นั เสยี ง /p/ ท่ีเกิดในตาแหนง่ ต้นคา pin pat pan pie เสยี ง /b/ ท่เี กิดในตาแหนง่ ต้นคา bee bought buy bread เสียง /p/ ทเ่ี กิดในตาแหนง่ ท้ายคา tip top tap trip เสยี ง /b/ ท่เี กิดในตาแหนง่ ท้ายคา cab sob lab job เสยี งพยัญชนะ /m/ (Voiced bilabial nasal) เปน็ เสยี งพยญั ชนะนาสิกที่เกิดข้นึ ท่รี ิมฝปี าก ปากจะปดิ แน่นเพื่อกักลมจากปอด และลมจะออกจากปอดโดยผา่ นช่องจมกู และ ออกมาทางรูจมูก เสียง /m/ จงเป็นเสียงกอ้ ง เสน้ เสียงจะสนั่ เสยี ง /m/ ท่ีเกิดในตาแหน่งต้นคา mean mill moss meet เสียง /m/ ท่เี กดิ ในตาแหนง่ ท้ายคา dim hum roam sum2. เสียงพยญั ชนะ /t/, /d/, /n/ (Alveolar stops) เสยี งพยญั ชนะ /t/, /d/ เปน็ เสยี งท่เี กิดขน้ึ ท่ีปุ่มเหงือก โดยปลายล้นิ จะยกขึน้ แตะปุ่มเหงือก และกักลมไวช้ ั่วขณะหนง่ึ แล้วจึงปลอ่ ยลมออกมาทางชอ่ งปาก ในขณะท่ีออกเสียง /t/ จะเปน็ เสียงไม่กอ้ ง คอื เสน้ เสยี งไม่สั่น แต่ถา้ ออกเสยี ง /d/ เส้นเสียงจะสั่น และมีลักษณะเป็นเสยี งก้อง เสียง /t/ ทเี่ กิดในตาแหน่งต้นคา

21 tip talk taxi tab teach เสียง /t/ ท่เี กดิ ในตาแหน่งท้ายคา cat pet best boat get เสียง /d/ ท่เี กดิ ในตาแหนง่ ต้นคา din dip dim dam doll deep เสยี ง /d/ ทเ่ี กดิ ในตาแหน่งท้ายคา old bad had add เสยี งพยญั ชนะ /n/ (Voiced alveolar nasal) เปน็ เสยี งพยัญชนะนาสิกที่เกิดที่ปมุ่ เหงือกโดยปลายลิ้นจะแตะท่ปี มุ่ เหงือกเพ่อื กกลมชั่วขณะหนึ่ง แล้วจงึ ระเบิดออกมาโดยลมผา่ นเขา้ ไปในช่องจมูกและออกมาทางรูจมกู เสยี งพยญั ชนะ /n/ จะเปน็ เสียงก้อง เส้นเสียงส่นั เสยี ง /n/ ทเ่ี กดิ ในตาแหน่งต้นคา now name next เสยี ง /n/ ทเี่ กิดในตาแหนง่ ทา้ ยคา ban won fine3. เสียงพยญั ชนะ /k/, /g/, / ŋ / (Velar stops) เสียงพยญั ชนะ /k/, /g/ เปน็ เสียงท่ีเกดิ ทเ่ี พดานอ่อน ลนิ้ ส่วนหลังจะยกขน้ึ แตะ เพดานอ่อน ลมที่ ออกมาจากปอดจะถูกกักอยชู่ ่ัวขณะหนงึ่ เม่ือปล่อยลิน้ ลมจะถกู ปล่อย ออกมาอยา่ งเร็ว เสยี ง /k/ และ /g/ จะต่างกนั คอื เสียง /k/ จะเปน็ เสยี งไม่ กอ้ ง สว่ นเสียง /g/ จะเป็นเสียงกอ้ ง เสยี ง /k/ ท่เี กิดในตาแหน่งต้นคา come keep count kite could kill เสียง /g/ ที่เกดิ ในตาแหนง่ ต้นคา

22gift good guygoal give gabเสียง /k/ ท่ีเกิดในตาแหนง่ ทา้ ยคาpick dick hook lookเสียง /g/ ทเี่ กดิ ในตาแหนง่ ท้ายคาdig pig tag bag เสยี งพยัญชนะ / ŋ / (Voiced velar nasal) เป็นเสยี งทเี่ กดิ ทเี่ พดานออ่ น ลิ้นส่วนหลงัจะแตะอย่ทู ี่เพดานอ่อน เม่ือเพดานอ่อนลดระดับลง ลมจะออกผา่ นมาทางช่องจมูก โดยมลี ักษณะเป็นเสียงพยญั ชนะนาสิกและเป็นเสยี งกอ้ ง เสียง / ŋ / ออกเสียงเหมอื นเสยี งทีส่ ะกดดว้ ยอกั ษร “ง” ในภาษาไทยตาแหนง่ ซึ่งจะ เกดิ ในตาแหนง่ ตน้ คา กลางคา และทา้ ยคา แต่เสียงพยัญชนะ / ŋ / ในภาษาอังกฤษจะเกิด เฉพาะในตาแหน่งกลางคา และทา้ ยคาเท่านัน้ เสียง / ŋ / ท่ีเกิดในตาแหน่งกลางคา banging jungle finger เสยี ง / ŋ / ท่ีเกดิ ในตาแหน่งท้ายคา ring sung thing 4. เสียงพยัญชนะ /f/ และ /v/ (Labio-dentalfricatives) เสียงพยัญชนะ /f/, /v/ เป็นเสียงพยัญชนะเสียดแทรก เกิดจากฟนั บนและริมฝปี ากล่างคือ ริมฝปี ากล่างเคล่ือนขนึ้ สัมผสั กับขอบฟันบน ลมจากปอดจะแทรกผา่ นช่องแคบๆ ระหว่างรมิฝปี ากลา่ งและฟันบน เสยี ง /f/ และ /v/ จะแตกตา่ งกันทเี่ สียง /f/ เปน็ เสียงไม่ก้อง เสน้ เสียงจะไม่ส่ัน แต่เสยี ง /v/ เปน็ เสียงก้อง เสน้ เสยี งจะสัน่ เสยี ง /f/ ที่เกิดในตาแหนง่ ต้นคา fin first fan ferry feel final เสียง /f/ ทเ่ี กิดในตาแหน่งท้ายคา loaf life wife beef off cough

23เสียงพยญั ชนะ /f/ ที่ปรากฏในตาแหนง่ ทา้ ยคา มักจะเปน็ ปญั หาสาหรับคนไทย เนอื่ งจากเสยี งพยัญชนะ /f/ จะไมเ่ กดิ ท้ายคาในภาษาไทย คนไทยจึงมักออกเสยี งคล้ายกับเสยี งที่สะกดด้วยตัวอักษร “w” หรือ “ป” ในภาษาไทย เสยี ง /v/ ทีเ่ กดิ ในตาแหน่งต้นคา van vowel vine vain view value เสียง /v/ ทเ่ี กดิ ในตาแหน่งท้ายคา solve give cave behave believeเสยี งพยญั ชนะ /v/ เป็นเสียงที่เป็นปญั หาสาหรับคนไทย เพราะเสียง /v/ นี้จะไมม่ ี ในภาษาไทย คนไทยจงึ มกั ใช้เสยี ง /w/ในตาแหน่งต้นคา ซึ่งจะคลา้ ยกบั ตวั “ว” ใน ภาษาไทย และใช้ตวั “บ” แทน “v” ท่ีปรากฏในตาแหน่งท้ายคา5. เสียงพยญั ชนะ /θ/ และ /ð/ (Interdental fricatives) เสยี งพยัญชนะ /θ/ และ /ð/ เป็นเสยี งพยญั ชนะเสยี ดแทรก ปลายลน้ิ จะอยตู่ รง ขอบฟนั บน ลมจากปอดจะแทรกผ่านช่องลมแคบ ๆ ระหวา่ งปลายลนิ้ กับขอบฟนั บน ออกมา เสยี ง/ θ/ และ /ð/ จะแตกตา่ งกนั คือ เสยี ง / θ/ จะเปน็ เสียงไม่กอ้ ง แต่เสียง /ð/ จะ เปน็ เสียงกอ้ งเสยี ง / θ/ ท่ีเกิดในตาแหนง่ ต้นคาthin theme thick thigh thing thoughtเสียง / θ/ ท่เี กดิ ในตาแหน่งทา้ ยคาteeth path north bath math bothเสยี ง /ð/ ทเ่ี กดิ ในตาแหนง่ ต้นคาthat their though those thee themเสียง /ð/ ทเี่ กิดในตาแหนง่ ท้ายคาbathe soothe mouth smooth loathe see theเสยี งพยัญชนะ / θ/ และเสียง /ð/ เป็นเสียงทเ่ี ป็นปญั หาสาหรบั คนไทย เพราะไม่มสี องเสียงนใี้ นภาษาไทย ดงั น้ัน คนไทยจึงมักใชเ้ สียงในภาษาไทยทีใ่ กล้เคียงแทน เช่นใชเ้ สียง /t/ แทน/ θ// และเสียง /d/ แทน /ð/

246. เสียงพยัญชนะ /s/ และ /z/ (Alveolar fricatives) เสียงพยัญชนะ /s/ และ /z/ เป็นเสียงพยัญชนะเสียดแทรกที่เกิดขนึ้ ใกล้กับปมุ่ เหงือก ปลายล้ินจะข้ึนไปใกล้กบั ปุ่มเหงือก แต่ไม่แตะปุ่มเหงือก และส่วนกลางของลนิ้ จะมี ลักษณะคลา้ ยรองลงไป ลมจากปอดจะสอดแทรกผา่ นรองมาและเกดิ เป็นเสยี งขนึ้ เสยี ง /s/ และ /z/ จะต่างกนั คือ เสยี ง /s/ จะเป็นเสียงไม่กอ้ ง และเสยี ง/z/ จะเป็นเสยี งกอ้ ง เสียง /s/ ที่เกิดในตาแหนง่ ต้นคา sink sip sue เสยี ง /s/ ทเี่ กดิ ในตาแหน่งท้ายคา bus close this เสยี ง /z/ ทเี่ กดิ ในตาแหน่งตน้ คา zip zoo zeal zero เสยี ง /z/ ท่เี กิดในตาแหนง่ ทา้ ยคา7. เสยี ง rose eyes quiz พยัญชนะ / ʃ /, / ʒ /, / dʒ /, / tʃ / เสียงพยัญชนะ / ʃ / และ / ʒ / (Post-alveolarfricatives) เปน็ เสียงพยัญชนะเสียดแทรก ลิ้นด้านหนา้ จะเคลื่อนไปใกลก้ ับเพดานแข็งบริเวณที่อยหู่ ลังปมุ่เหงอื ก แต่ไม่แตะ สว่ นใดของเพดานปาก ฟันบนและฟนั ลา่ งจะอยู่ในรปู ท่เี กือบแตะกนั ริมฝีปากห่อและยื่นออกไปเล็กนอ้ ย ลมจากปอดจะแทรกผ่านช่องแคบ ๆ ในปากออกมา เสยี ง / ʃ / และ / ʒ / จะตา่ งกนั คือเสียง / ʃ / เปน็ เสียงไมก่ ้อง และเสียง / ʒ / เป็นเสยี งก้อง นักเรยี นไทยมกั จะมีปญั หาในการออกเสียง / ʃ /เพราะไม่มเี สยี งน้ใี นภาษาไทย และมักจะออกเสยี งคลายตวั “ฉ” “ช” แทน เสยี ง / ʃ / ท่เี กดิ ในตาแหน่งต้นคา shy shape shut เสยี ง / ʒ / ท่เี กดิ ในท้ายคา beige garage prestige8. เสยี งพยัญชนะ /h/ (Voiceless glottal fricative) เสียงพยญั ชนะ /h/ เป็นเสียงพยัญชนะเสียดแทรก เม่ือเส้นเสียงเคลือ่ นทเี่ ข้าหากัน ทาให้เกดิ ช่องแคบ ๆ ระหว่างเสยี ง และลมจากปอดแทรกผา่ นเส้นเสยี ง จงเกดิ เปน็ เสยี ง /h/ ข้ึน เสียงน้ีไม่เป็นปญั หาสาหรบั คนไทยในการออกเสียง เพราะจะมีการออกเสยี งคลา้ ยกับเสยี งท่ีสะกดด้วยตัวอักษร “ห” หรอ “ฮ” ของภาษาไทย

25 เสียง /h/ นีจ้ ะเป็นเสียงท่ีเกิดเฉพาะในตาแหน่งตน้ คาและกลางคาเทา่ นนั้ จะสงั เกตได้วา่คาในภาษาองั กฤษบางคาจะมีตัวอักษร h ในส่วนตาแหนง่ ท้ายคา แต่ตัวอักษร h น้ันก็จะไมถ่ ูกออก เสียง เชน่ oh /o/ เปน็ ต้น เสียง /h/ ในตาแหนง่ ตน้ คา home hill hum เสียง /h/ ตาแหนง่ กลางคา ahead behold 9. เสียงพยัญชนะ /l/ (Voiced alveolar lateral) เสียงพยญั ชนะ /l/ เปน็ เสียงพยัญชนะข้างลิ้นซึ่งเกิดขน้ึ ท่ปี ่มุ เหงอื กในการออกเสียง /l/ปลายลน้ิ จะยกข้ึนแตะปุ่มเหงือก และด้านข้างของลน้ิ จะลดลงโดยไมแ่ ตะกับส่วนใดในปากเลยลมจากปอดจะผา่ นออกมาทางด้านขา้ งของลิ้น ดังนัน้ เสยี งพยัญชนะ /l/ จงึ เป็น เสยี งกอ้ ง คลา้ ยกบัเสยี ง “ล” ในภาษาไทย เสียง /l/ ตาแหน่งตน้ คา let latch lean เสียง /l/ ตาแหน่งท้ายคา fool call tail3.10 เสียงพยัญชนะ /r/ (Voiced post-alveolar semi-vowel เสยี งพยัญชนะ /r/ เปน็ เสียงก่ึงสระ เกิดบรเิ วณใกลก้ ับปุ่มเหงอื ก ปลายลน้ิ จะถกู ยกขน้ึ ไปใกลก้ บั เพดานแข็งบริเวณด้านหลงั ปุ่มเหงอื ก แตไ่ ม่แตะกับปุ่มเหงอื ก เสียงพยัญชนะ /r/ ตาแหนง่ ต้นคา ride rich road raw เสยี งพยัญชนะ /r/ ตาแหน่งท้ายคา fire repair four fair

2611. เสียงพยญั ชนะ /w/ และ /y/ เสียงพยญั ชนะ /w/ (Voiced bilabial semi-vowel) เป็นเสยี งกงึ่ สระ ลน้ิ จะอยใู่ นตาแหนง่ ของเสยี งสระ /u/ ริมฝีปากจะย่ืนและห่อ เสยี งพยัญชนะ /w/ ตาแหน่งต้นคา wash wet waist way เสยี งพยัญชนะ /y/ (voiced palatal semi-vowel) เป็นเสยี งกง่ึ สระ ในการออกเสยี งนี้ ล้ินส่วนหนา้ จะถกูยกขึ้นใน ระดับของเสยี งสระ /i/ ลมจากปอดผ่านชองปากออกไปเสียง /y/ เปน็ เสียงก้อง และออกเสยี งคล้ายกับตวั “ย” ในภาษาไทย เสียงพยญั ชนะ /y/ ในตาแหน่งตน้ คา young yard yacht yarn yeast yellow

27 สรปุ พลังงานทจี่ ะแปรเปน็ เสยี งคือลมจากปอดในขณะทห่ี ายใจออก ลมหายใจออกตามธรรมดาจะเงยี บ ถ้าจะใหไ้ ด้ยนิ ต้องทาใหเ้ กดิ การสนั่ สะเทอื น ซ่ึงอาจจะเกิดข้นึ โดยไมร่ ้สู ึกตวั เชน่ เวลากรน แต่เวลาออกเสียงพูดโดยจงใจทาให้ลมหายใจออกเกิดการสนั่ สะเทือน โดยทาให้เส้นเสียงเคล่ือนไหว ขณะท่ีพูด ลมทีอ่ อกจากปอดขึ้นมาจากหลอดลม ผา่ นกล่องเสยี งเขา้ สู่ช่องคอชอ่ งจมูกและชอ่ งปาก แตว่ า่ เพดานอ่อนจะกระดกขึน้ ปดิ ทางเช่ือมระหวา่ งชอ่ งคอกับช่องจมูก เสียงท่ีเกดิ จากลมท่ีออกมาจากปอดผ่านเสน้ เสยี ง หากเส้นเสียงแคบลมก็จะไมส่ ามารถผา่ นออกมาได้โดยสะดวก ต้องดันเส้นเสียงออกมา ทาใหเ้ ส้นเสยี งสนั สะเทอื นเสียงท่ีออกมาจงึ ก้อง เชน่ เสียง /z/ เซอะ, /j/เจอะ, /m/ เมอะ เรียกว่าเสียงก้อง (Voiced Sound) วธิ ีการสังเกตเวลาเราออกเสียง สระหรอื พยัญชนะลองเอาน้วิ มือแตะบรเิ วณข้างๆ ลาคอเราจะรับรถู้ งึ แรงสน่ั ของเส้นเสยี ง ส่วนเสียงเปดิ กวา้ ง ลักษณะการเกดิเสียงเหมอื นแบบ Voiced แต่ลมจะออกมาได้สะดวกไม่กระทบเสน้ เสยี ง เสน้ เสียงจงึ ไมส่ ่ัน เชน่ เสียง /k/ เคอะ,/t/ เทอะ , /n/ เนอะ เรียกวา่ เสยี งไมก่ ้อง (Voiceless Sound) ความแตกตา่ งระหวา่ งเสยี งกอ้ งและเสียงไม่ก้อง อยู่ทีภ่ าพการสั่นของเส้นเสียง ถา้ เสน้ เสียงอยู่ชดิ กนั ลมทอ่ี อกจากปอดขน้ึ มาตามหลอดลมถูกกัก ทาให้เกิดแรงดันซ่ึงมีผลทาใหเ้ สน้ อ้าปล่อยให้ลมผา่ นออกมา เม่อื แรงดันลดลงเส้นเสียงก็จะกลับไปปดิ อย่างเดิม เสยี งทเี่ กิดจากลมผา่ นเส้นเสยี งทเ่ี ปิดหรือปิดอยู่และถูกสกัดกนั้ เรียกวา่ เสยี งพยญั ชนะ (Consonants) เสียงพยญั ชนะในภาษาอังกฤษ ประกอบดว้ ย เสียงหยดุ หรอื กกัก /p/,/b/,/t/,/d/,/k/,/g/ เสยี งเสยี ดแทรก /f/,/v/,/θ/,/ð/,/s/,/z/,/ ʃ /,/ ʒ /,/h/ เสยี งกกั เสียดแทรก /tʃ/,/dʒ/ เสียงนาสิก /m/,/n/,/ŋ/ เสยี งกระดกล้นิ /r/ เสียงขา้ งลน้ิ /l/ และเสียงกงึ่ สระ /w/,/j/

28 แบบฝึกหดั1. จงเลอื กคำตอบที่ถูกต้องท่ีสดุ1. เสียงกกั (Stop) มีทงั้ หมดกี่เสียงa. 4 เสียง b. 5 เสียงc. 6 เสยี ง d. 7 เสยี ง2. กลุ่มเสียงในข้อใดประกอบด้วยเสียงกัก (Stop) ท่ีมีลักษณะเสน้ เสยี งไมก่ ้องทั้งหมดa. /p/, /t/ ,/k/b. /g/, /t/ ,/f/c. /c/, /g/ ,/t/d. /b/, /d/, /p/3. กลุ่มเสยี งในข้อใดประกอบด้วยเสียงกัก (Stop) ที่มลี ักษณะเส้นเสียงก้องทั้งหมดa. /g/, /t/, /s/b. /b/, /d/, /f/c. /b/, /d/, /g/d. /b/, /t/ ,/s/4. คาใดต่อไปนเ้ี กดิ เสยี งกัก (Stop) ทต่ี ้นคาa. the b. teenc. seek d. how5. คาใดต่อไปน้ีเกิดเสยี งกกั (Stop) ทที่ ้ายคาa. pen b. kingc. with d. look6. คาใดต่อไปน้เี กิดเสียงกกั (Stop) แบบเสน้ เสยี งก้องเกิดที่ตน้ คาa. bin b. peepc. king d. come7. คาใดต่อไปน้ีเกดิ เสียงกกั (Stop) แบบเสน้ เสียงไมก่ ้องเกดิ ท่ีทา้ ยคาa. pen b. teenc. bread d. part

298. คาใดต่อไปน้ีไม่มีเสยี งกัก (Stop) เป็นสว่ นประกอบของคาa. then b. icec. earth d. bad9. คาใดต่อไปน้ีมเี สียงกัก (Stop) เปน็ สว่ นประกอบทง้ั ต้นคาและท้ายคาa. pork b. kingc. queen d. seed10. คาในข้อใดมเี สยี งข้ึนตน้ ตา่ งจากพวกa. pen b. comec. ten d. zoo2. บอก Same or Different เมือ่ ไดฟ้ งั ค่เู ทยี บเสยี ง ต่อไปนี้toy toil vow vowelfee feel my mileray rail coy coilyou yule too toolrow roll go goa3. จงเขยี นสญั ลักษณ์สัทศำสตรข์ องคำต่อไปนีใ้ ห้ถูกต้อง1. large lemon2. lamp leader3. goal meal4. deal coil5. feel fin4. จงอ่ำนออกเสียงประโยคต่อไปนใ้ี หถ้ ูกตอ้ ง 1. Wayne went to Wales to watch walruses. 2. Which wristwatch is a Swiss wristwatch? 3. While we were walking, we were watching window washers wash Washington's windows with warm washing water. 4. You know New York. You need New York. You know you need unique New York. 5. We will learn why her lowly lone, worn yarn loom will rarely earn immoral money.

305. จงวงกลมคำที่เปน็ (semivowels)wet it itch axe vile write low few yornvary wer they town cow employer flower sunny knownow when wash hurry yell obey white sorrowallow lower westplay yore uniformwin narrow no wrist เอกสำรอ้ำงอิงนนั ทนา รณเกยี รต.ิ (2555). สทั ศำสตรเ์ พอ่ื กำรสอนกำรออกเสยี งภำษำองั กฤษ. พิมพ์ครง้ั ท่ี1. กรุงเทพ: สานักพมิ พม์ หาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์.กรองแกว้ ไชยปะ. (2548). สัทศำสตร์องั กฤษและสรวทิ ยำเบ้ืองต้น. พิมพค์ ร้ังท่3ี . เลย: โรงพิมพร์ งุ่ เเสง.ประกอบ ผลงามและพชั รนิ ทร์ ดวงศร.ี (2558). สัทศำสตร์ภำษำอังกฤษเพื่อกำรใช.้ เลย: มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเลยพงษเ์ ทพ บุญเรือง. (2560). สัทศำสตร์และสรวทิ ยำภำษำอังกฤษ. เลย: มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เลย

31 Unit 3 : หนว่ ยเสียงสระในภำษำอังกฤษ (English Vowel Sounds)วัตถุประสงค์ 1. สามารถบอกลกั ษณะการออกเสียงสระภาษาอังกฤษได้ 2. สามารถออกสยี งสระเดีย่ วและสระประสมในภาษาองั กฤษได้ 3. สามารถเขยี นสัญลักษณท์ างสทั ศาสตร์ของเสยี งสระเดี่ยวและสระประสมได้บทนำ เสยี งสระหมายถึงเสียงท่เี ปลง่ ออกมาจากลาคอโดยตรง ไม่ถกู สกดั กนั้ ณ ทใ่ี ดทหี่ น่งึ ในช่องทางเดนิของลมเลย โดยเสียงน้ีกระทบเสน้ เสยี งท้ัง 2 ข้าง เกดิ เป็นเสยี งสน่ั สะเทือน มีเสียงก้องกังวานและออกเสยี งได้ยาวนานกวา่ เสยี งพยัญชนะ ในการเปลง่ เสยี งสระ จะต้องคานึงถึงลักษณะของริมฝีปากและความสงู ตา่ ของลิ้นเปน็ หลักสาคญั ความสูงต่าของลนิ้ หมายถึง ขณะท่ีเปล่งเสียงนั้นๆ ลิน้ ส่วนต่างๆ จะมรี ะดับของการยกสูงหรือตา่ ตา่ งกนั ของปลายล้ิน กลางล้ิน หรอื หลังล้นิ ส่วนลักษณะของรมิ ฝปี าก เชน่ มีการห่อปาก หรือเหยยี ดรมิฝปี าก ตารางแสดงสญั ลกั ษณ์ทางสทั ศาสตร์ของหน่วยเสียงสระ เสียงสระเป็นเสียงท่ีประกอบด้วย ระดับเสียงสูงต่าต่างๆ ประสมประสานกัน ซึ่งรวมระดับเสียงที่เป็นความถ่ีของการเปิดปิดของเส้นเสียงขณะท่ีออกเสียงสระน้ันๆ และระดับเสียงของเสียงสองเสียง(Overtone pitches) คอื เสียงแรก (เสยี งทสี่ ูงกว่า) จะมีคุณสมบัติที่ลดต่าลงไป เช่น heed, hid, head, had,hod, hawed, hood, who’d ซึ่งสัมพันธ์กับความเป็นหน้าหลังของสระ ส่วนเสียงที่สองคือเสียงที่ต่าสาหรับสระท่ีมีตาแหน่งยกลิ้นสูง และมีเสียงสูงสาหรับสระท่ีมีตาแหน่งล้ินยกลงต่า โดยมีความสัมพันธ์แบบผกผันกับความสูงตา่ ของสระในแง่ของการออกเสยี ง1. เสียงสระมำตรฐำน (Cardinal vowels) เนื่องจากการศึกษาเร่ืองสระเป็นการศึกษาท่ียาก และมีรายละเอียดมาก Daniel Jonesนักภาษาศาสตร์ชาวอังกฤษ จึงได้สร้างมาตรฐานของเสียสระเพื่อถือเป็นมาตรฐานในการศึกษาเร่ืองนี้ โดยได้

32คิดค้นแผนผังท่ีเกิดขึ้นของเสียงสระ แสดงให้เห็นตาแหน่งของเสียงสัตว์ต่าง ๆ ภายในช่องปากและกาหนดเกณฑด์ งั นี้ ลิ้น (Tongue) แบ่งตามหน้าท่ีการทางานเป็น 3 ส่วนคือ ส่วนหน้า (Front) ส่วนกลาง (Central)ส่วนหลัง (Back) ชอ่ งปาก (Oral cavity) แบ่งตามการปิดเปิดการยกระดับสูงต่าของขากรรไกรและล้ินทาให้ช่องต่างๆหรือติดในระดับต่างกันแบ่งเป็น 4 ระดับคือ อ้า (Open) กึ่งอ้า (Half-open) กึ่งปิด (Half-close) ปิด(Close) ลักษณะริมฝีปาก (Lip position) แบ่งกล้องกว้างเป็น 2 ลักษณะคือ ริมฝีปากห่อ (Rounded)ไม่ห่อ (Unrounded) หมายเหตุ Daniel Jones ได้แบ่งลักษณะริมฝีปากไว้กว้างๆเพียง 2 ลักษณะเท่านั้น คือ Roundedและ Unrounded นักภาษาศาสตร์ที่ทาการศึกษาเร่ืองเสียงต่อๆมา ได้วิเคราะห์และจาแนกลักษณะของริมฝึปากในการผลิตเสียงสระเปน็ สระเปน็ หลายลกั ษณะกวา่ นนั้ แผนภมู ิของ Cardinal Vowels ตำมเกณฑข์ อง Daniel Jones ระยะหา่ งระหว่างล้ินกับเพดาน 1. Closed หมายถึง ลิ้นอย่ใู นระดับสูงสุด ใกล้กับ เพดานปากมาท่ีสุด 2. Half – closed หมายถึง ลนิ้ อยู่ในระดบั กลาง ค่อนข้างสงู ขึ้นไปทางเพดานปาก 3. Half – open หมายถึง ล้ินอยู่ในระดับกลางค่อนต่าลงสู่พนื้ ลา่ งของช่องปาก 4. Open หมายถงึ ลนิ้ อยู่ในลักษณะต่าสดุ ราบกับพื้นช่องปาก

33 แผนภูมเิ สยี งสระ ลักษณะริมฝปี ากเวลาออกเสียง (1) ลกั ษณะริมฝปี ากเหยียด (Spread) คล้ายเวลาย้ิม พูดออกเสยี ง /iː/ (2) ลักษณะริมฝีปากห่อแคบ (Rounded) ทาปากเป็นรูปวงกลมพูดออกเสียง /uː/ (3) ลักษณะริมฝีปากระหวา่ งเหยยี ดและทาปากห่อ (Neutral) พดู ออกเสียง /ə/ (4) ลักษณะริมฝีปากห่อกวา้ ง (Rounded) ทาปากเป็นรูปวงกลมพดู ออกเสียง /əː/ ภาพแสดงลกั ษณะของรมิ ฝปี าก2. เสียงสระในภำษำอังกฤษ (English vowel sounds) การจาแนกเสียงสระในภาษาองั กฤษ จาแนกได้ดงั ต่อไปนี้ 1) จาแนกตามความสัมพันธร์ ะหวา่ งลน้ิ กบั เพดานปากตามแนวนอนและแนวต้งัสามารถแบง่ สระออกได้เปน็ 3 ประเภทคือ สระหนา้ (Front) ได้แกเ่ สยี ง /ɪː, ɪ, e, æ/ สระกลาง(Central) ได้แก่ เสียง/ɑː, ɒ, ɔː, ʊ, uː/ สระหลงั (Back) ได้แกเ่ สยี ง /ʌ, ɜː, ə/ 2) จาแนกตามลักษณะของริมฝีปาก แบง่ เสยี งสระได้เป็น 3 ประเภทคือ สระสูง (High) ได้แก่ เสยี ง / ɪː, ɪ, ʊ, uː/ สระกลาง (Mid) ไดแ้ กเ่ สียง /e, ə, ɜː, ɔː/ สระต่า (Low) ไดแ้ ก่ เสียง /æ, ʌ, ɑː, ɒ/

34 3) จาแนกตามการเกร็งของกลา้ มเน้อื บรเิ วณลิ้น ปากและใบหน้า ได้แก่ริมฝปี ากห่อ ริมฝีปาก เหยียด (Unrounded Vowels) ไดแ้ ก่เสียง /ɪː, ɪ, e, ə, ʌ, ɒ, ɜː, ɑː, æ/ รมิ ฝปี าก หอ่ (Rounded Vowels) ได้แก่เสยี ง /ʊ, uː, ɔː/ สระในภาษาองั กฤษแบง่ ออกได้เป็น 2 ประเภท คือสระเด่ยี ว (Single Vowel or Monophthongs) และสระประสม (Diphthongs or Glided Vowels)2.1 เสียงสระเดี่ยว (Single vowel sounds or Monophthongs) สระเดย่ี ว หมายถึงสระท่ีเปล่งเสียงเดียว โดยท่อี วัยวะทีเ่ ปล่งเสียง คอื ลน้ิ และริมฝีปากอยู่ในทางเดียว ไม่มีการเคลอื่ นไปสู่ตาแหนง่ อ่ืนอันจะทาให้ลกั ษณะของเสยี งเปลีย่ นไป สญั ลักษณ์ทีใ่ ช้ ใช้สญั ลกั ษณ์ตวั เดียว แต่อาจจะมเี คร่อื งหมายแสดงความยาวของเสยี ง ดังน้ี [ː] ได้แก่/ ɪː / read / ɪ / sit / e / men/ æ / cat / ʌ / but / ɑː / part/ ɒ / not / ɔː / sort / ʊ / book/ uː / too / ɜː / word / ə / America หน่วยเสียง /ɪː/ ลกั ษณะการเปล่งเสยี งน้ี ใหล้ ิ้นส่วนหนา้ ยกขน้ึ สูง เกือบจดเพดานปากส่วนหน้า ใหร้ มิ ฝปี ากเหยียด ลนิ้ ดึงใหท้ ัง้ สองขา้ งสมั ผสั กับแนวกรามบน ตัวอย่างเสยี งนม้ี ีรูปแบบ เช่นee see, meet, sheet, and sheepe be, he, compete, Peter, peopleea sea, beat, seat, heatie field, believe, piece,movieei receive, seize,ceilingey, eo key, peoplei police, machine ski จากตัวอยา่ งคาที่ออกเสียงด้วยเสยี งสระ /ɪː/ จะเหน็ ไดช้ ดั ว่าเสยี งสระนมี้ วี ิธีการสะกดตัวอกั ษรทแ่ี ตกต่างกนั หลากหลายวธิ ี ดังน้ันจงึ เห็นไดช้ ดั ว่าตัวสะกดไม่ได้เออ้ื ตอ่ การออกเสยี งแต่อย่างใดดงั นัน้ การที่เข้าใจเรื่องสทั อกั ษรเป็นส่ิงที่ช่วยในเร่อื งการออกเสยี งเป็นอย่างมาก ลกั ษณะการที่เสียงสระหน่งึเสยี งสระสะกดดว้ ยอักษรหลายรูปแบบนั้น ปรากฏให้เห็นในสระอ่ืนๆด้วย วิธกี ารออกเสียง /ɪː/ คล้ายกับการออกเสียงสระ-อ-ี ในภาษาไทย ดังน้ันจึงไม่เปน็ ปญั หาสาหรับคนไทย นอกจากจะต้องระมดั ระวังวา่ เสียงสระ/ɪː/ นคี้ อ่ นขา้ งยาวเมื่อปรากฎในพยางค์เปิดท่ีไมม่ เี สียงสะกด เชน่ ในคาวา่ see, fee, key หรือในพยางค์ปดิ ท่ีลงท้ายด้วยเสยี งกอ้ ง เชน่ seed, seen, feed, fees แตเ่ สียงสระจะสน้ั ลงเมื่อเกิดในพยางคท์ ่สี ะกดหรือลงทา้ ย

35ด้วยเสยี งไม่ก้อง เชน่ seat, feet, piece, leaves, beef, reach ซงึ่ จะสงั เกตเหน็ ความแตกต่างของสระ /ɪː/ที่ยาวและเสยี งสระ /ɪː/ ท่สี ั้นกวา่ ในคเู่ ทยี บเสยี งท่ีมเี สยี งพยญั ชนะสะกดเป็นเสียงพยัญชนะเสยี งก้องและเสียงไม่ก้องตวั อย่างคาเมื่อความยาวของเสียงหายไปเมื่อตามดว้ ยเสียงพยัญชนะเสียงไม่ก้อง /ɪː/ /ɪ/ beat bit leave leaf seize cease หน่วยเสียง /ɪ/ ลักษณะการเปล่งสยี งน้ี ให้ล้นิ ส่วนหนา้ ยกขึ้น แต่ต่ากว่าการเปล่งเสยี ง /ɪ/ให้กลา้ มเนื้อล้นิ ไมต่ ึง และให้ทง้ั สองข้างสัมผัสกบั แนวกรามบน คนไทยค่อนข้างจะมีปญั หาในการออกเสียงน้ีโดยจะยกล้ินขึ้นสงู เกนิ ไปเหมือนกบั กาลังออกเสยี ง-อิ-ในภาษาไทย การออกเสยี งจะตอ้ งให้หย่อนลน้ิ ลงเลก็ นอ้ ยในขณะท่ีออกเสยี ง จึงจะทาให้คลา้ ยคลึงกบั เสียงในภาษาอังกฤษ เสยี งสระน้ีมีการสะกดหลายรปู แบบเชน่ i sit, bit, ship, chipy Kym, symbol, city, happye excuse, except, prettyie cities, ladies, cookiesu busy,bury, build, guitara village, private นอกจากนี้ควรฝกึ ให้สามารถเเยกแยะความแตกตา่ งระหวา่ งเสยี งสระ /ɪ:/ และ /ɪ/ โดยฝกึ ออกเสียงค่เู ทียบเสยี ง ดงั น้ีbead - bid each - itch deep - dipseen – sin feet - fit meal - mill หน่วยเสียง /e/ ลักษณะการเปล่งเสยี งน้ี ใหล้ น้ิ ส่วนหน้ายกข้นึ ในระดับระหว่าง Half-closeและ Half-open ใหร้ ิมฝปี ากเหยยี ดเลก็ นอ้ ย ช่องปากกว้างกวา่ เสยี ง/ɪ/ ล้นิ อยู่ในลกั ษณะตงึ ให้มากกวา่ /ɪ/และใหท้ ง้ั สองข้างสมั ผัสกบั แนวกรามบน- เสยี งนีม้ ีการสะกดหลายรูปแบบ เช่นe bet, set desk, wentea dead, head, breath, deafa any, many, Thames

36 ue,eo guess, leopard ie,ei,ai friend,leisure,said,againเสียงนี้มีลักษณะการออกเสียงคล้ายกับเสียงสระ-เอะ-และ-เอ- ในภาษาไทยมีข้อสังเกตคือ เสียงน้ีปรากฏในคาภาษาอังกฤษท่ีสะกดหลากหลายแบบ และหลายแบบที่สะกดด้วยตัวอักษร 2 ตัว เช่น deadfriend again jeopardy ทาให้เกิดความเข้าใจผิดได้ง่ายว่าเป็นเสียงสระเลื่อน แต่ท่ีจริงเเล้วต้องออกเสียงด้วยเสยี งสระเดีย่ วนอกจากนคี้ วรมกี ารฝึกออกเสยี งเปรียบเทียบระหว่างเสยี ง /ɪ/และเสยี ง /e/ โดยฝึกจากการออกเสยี งคเู่ ทียบเสียงข้างล่างน้ี ตัวอย่างดังกลา่ วน้ีจะเเสดงใหเ้ หน็ ไดช้ ัดวา่ เสยี ง /ɪ/ นน้ั ยกลิ้นขึน้ สงู กว่าตัวอยา่ งคาเสียงสระ /ɪ/- /e/bill - bell rich - wretch fill - fell chick - checkrid - red wit - wet knit - net lid - led หน่วยเสียง /æ / ลกั ษณะการเปลง่ เสยี งนี้ ริมฝีปากจะเปิดกว้างมากกว่าเสยี ง /e/ ใหล้ ้ินสว่ นหน้ายกข้นึ ในระดับระหว่าง Half-open และให้ทัง้ สองข้างสัมผสั กับแนวกรามหลัง ริมฝปี ากไม่หอ่ ไม่เหยียด (Natural) เปลง่ เสยี งส้ัน เสยี งสระน้ีจะไม่เกิดกบั พยางป์ ดิ ซ่งึ เป็นพยางคส์ ุดท้ายของคา เช่น a sat, bat, hat, land, pack ai plaid, plait ua guaranteeนอกจากนี้ควรฝึกการออกเสียงสระ /e/ และเสยี งสระ /æ / เพือ่ เปรยี บเทยี บการยกล้ินท่รี ะดับต่างกันตัวอย่างคา /e/ - /æ /ten - tan bet - bat mesh - mash pen -panmet - mad head - had merry - marry ken - can หน่วยเสียง /ʌ/ ลักษณะการเปล่งเสยี งน้ี ริมฝีปากไม่ห่อกลมและไมเ่ หยยี ด ลิ้นสว่ นกลางยกขนึ้ เล็กน้อย ใหล้ ้นิ ไมแ่ ตะส่วนใดๆของแนวกรามบน และเปล่งเสียงสนั้ เสียงนค้ี ลา้ ยกบั เสียงสระ-อะ- และสระ-อา-ในภาษาไทย เเต่เสยี งนีจ้ ะมปี ัญหาในการออกเสยี งของคนไทยเพราะมักจะออกเสยี งสระ-อะ- จงึ ใชล้ ้นิส่วนทีค่ อ่ นขา้ งมาดา้ นหน้ามากไป ควรจะยกลิ้นในระดับตา่ ลิ้นด้านขา้ งไม่สัมผสั กบั ฟันบนด้านข้าง เช่น u sun, run, mull o son, Monday, onion, monkey, mother, among, one ou country, couple, young, southern oo blood, flood oe does

37 หน่วยเสียง /ɑː/ ลกั ษณะการเปล่งเสยี งน้ี รมิ ฝปี ากไม่ห่อกลมและไม่เหยยี ด ล้ินสว่ นกลางและส่วนหลงั อยใู่ นระดบั Open มากทส่ี ุด ให้ล้นิ ไม่แตะส่วนใดๆของแนวกรามบน และเปลง่ เสียงยาว เชน่ a pass, after, tomato, bath ar part, car, march, large, farm ea heart er clerk, sergeant al calm, palm, half au aunt, laugh หน่วยเสียง /ɒ/ ลักษณะการเปล่งเสียงน้ี ริมฝีปากเปดิ กว้างและห่อเล็กน้อย ลิ้นส่วนหลงั อยู่ในลกั ษณะ Open มากท่สี ุด ใหล้ น้ิ ไมแ่ ตะสว่ นใดๆของแนวกรามบน และเปล่งเสียงสั้น เสยี งสระน้ใี ช้ลน้ิ ส่วนหลังในการออกเสยี งและลิน้ จะยกข้นึ สงู กวา่ ระดับต่าสดุ ของสระหลกั เลก็ น้อย รมิ ฝปี ากห่อเลก็ นอ้ ย ขากรรไกรเปิดกว้าง ลนิ้ ดา้ นขา้ งจะไมส่ มั ผสั กับฟันบนดา้ นข้างเลย เชน่ o not, hot, dog, sorry, holiday a was, what, want, watch ou, ow cough, rough, knowledge au because, sausage, cauliflower, Austria หนว่ ยเสียง /ɔː/ ลักษณะการเปล่งเสียงน้ี รมิ ฝีปากหอ่ มากกว่าหนว่ ยเสียง /ɒ/ ลิ้นส่วนหลงัยกขึ้นในระดบั ระหวา่ ง Half-open และ Half-close ใหล้ ิ้นไมแ่ ตะส่วนใดๆของแนวกรามบน และเปลง่ เสียงยาว เชน่ or born, sword, horse, cord aw saw, yawn, jaw, law ou bought, ought, sought au daughter, caught, taught, because a all. Talk, chalk, salt, water, war ore more, before oor floor, door oar oar, board

38our court, four คนไทยมักจะสับสนการออกเสยี งสระ/ɒ/ และเสยี งสระ /ɔː/ ดงั นั้นจงึ ต้องเรียนรทู้ ่จี ะเเยกเเยะโดยจะตอ้ งยกลิ้นเสยี งสระ /ɔː/ ใหส้ งู กวา่ และลากเสียงยาวมากกว่า ดังตวั อย่างต่อไปนี้not - nought cod - cord pot - portfox - forks wad - wards shot - shortหมายเหตุ หน่วยเสียง /ɔː/ เมือ่ มีเสยี งพยญั ชนะไม่ก้องตามมา ความยาวของเสียงจะลดลง/ɔː/ /ɔ/saw sortwar wartboard boughtsaws sauce หน่วยเสียง /ʊ/ ลักษณะการเปลง่ เสยี งน้ี รมิ ฝปี ากห่อมากกว่าหน่วยเสียง /ɔː/ ใหล้ นิ้ ยกขน้ึในระดบั เหนือ Half-close เล็กน้อย กล้ามเน้ือลิ้นไมต่ ึง ใหล้ นิ้ สองข้างแตะแนวกรามฟันเล็กน้อย และเปลง่เสยี งสน้ัu put, sugar, butcher, fullo woman, wolfoo good, wood ,wool, book, tookou could, should, would ปญั หาของคนไทยในการออกเสียงสระน้คี ือ มักจะออกเสยี งเป็นสระเสยี งยาว โดยเฉพาะอย่างย่งิ ในคาทส่ี ะกดด้วย oo เชน่ wool, wood, หรอื สะกดดว้ ย ou เช่น could, should เพราะเหน็ ตัวสะกดเป็นอกั ษร 2 ตัว จงึ ทาใหเ้ ข้าใจผิดว่าเปน็ สระเสียงยาว หน่วยเสียง /uː/ ลักษณะการเปลง่ เสยี งน้ี เปน็ เสยี งสระท่ีเกิดจากล้นิ ส่วนหลัง ใหล้ ิ้นยกข้ึนในระดับเหนือ Close กล้ามเน้อื ลน้ิ ตึง ริมฝปี ากหอ่ มากกว่าเสียง /ʊ/ และเปล่งเสียงยาว ลกั ษณะคล้ายกับเสียงสระอใู นภาษาไทยoo food, moon, spoon, pool, soono move, do, loseou group, soup, wound, through

39 u rude, June eu feud, neutral, pneumonia ew new, threw, chew, sewer ue blue, true, due, avenue ui fruit, juice, suit, bruise เสยี งน้ีเมือ่ เกิดขึน้ ในพยางคเ์ ปิด คือพยางคท์ ่ีไม่มีตวั สะกด เช่น ในคาวา่ blue, two, shoeหรอื เมือ่ เกดิ ในพยางคป์ ดิ ท่ีมีตัวสะกดเป็นเสียงพยญั ชนะเสยี งก้อง เชน่ ในคาว่า food, move, wood จะออกเสียงยาว แต่ถา้ ตัวสะกดเป็นพยัญชนะเสียงไม่กอ้ ง เชน่ ในคาวา่ hoop เสยี งจะสัน้ ลงแตไ่ ม่สนั้ เท่าเสียงสระ/ʊ/ ทีก่ ลา่ วมาแลว้ ตัวอย่างดังน้ี use (v.) - use (n.) Jews - juice rude - roof lose - loose หน่วยเสียง /ɜː/ ลกั ษณะการเปลง่ เสยี งนี้ ให้ลน้ิ สว่ นกลางยกขนึ้ ในระดับระหว่าง Half-closeและ Half-open ลนิ้ ไมส่ ัมผสั กบั แนวฟนั กรามบน ริมฝีปากเหยยี ดเลก็ น้อย เสียงนี้คลา้ ยคลงึ กับเสียงสระเออในคาว่าเธอ เจอ ในภาษาไทย แตเ่ สยี งภาษาไทยจะใชส้ ้ินส่วนหลังในการออกเสียง มันจึงดแู ปลก ดงั น้นั ควรระมัดระวังเวลาออกเสียง คือ จะต้องออกเสยี งน้ีใหเ้ ปน็ เสยี งยาว ตัวอยา่ งคาเสียงสระ /ɜː/ เช่น ir bird, first, girl er her, serve ear earth, heard, earl ur turn, church, nurse, curl or word, world, work, worse our journey, courtesyหมายเหตุ หน่วยเสียง /ɜː/ เมอื่ มีเสยี งพยญั ชนะไม่กอ้ งตาม ความยาวของเสยี งจะลดลง /ɜː/ /ɜ/ fur first serve surf cur curt หนว่ ยเสียง /ə/ ลกั ษณะการเปล่งเสียงนคี้ ล้ายกบั เสยี ง /ɪ/ ใหล้ ิ้นถอยหลงั ลดลง มีกฎการใช้ดงั นี้

40 1) เมอื่ มีสระท่ีอย่ใู นคามากกว่าหน่งึ พยางค์ เสยี ง /ə/ จะไมล่ ดเสยี ง เชน่ i possible e gentlemen a woman o oblige u suppose ar particular er mother or doctor ou famous our colour ure figure 2) เสียง /ə/ อาจใช้แทนเสียง /ɪ/ ในคาพยางค์ท่ีมเี สียง /ɪ/ เช่น excuse, except, effect, Raises, roses, wanted3) เสียง /ə/ จะปรากฏในรปู แบบท่ไี ม่เน้นเสยี ง (Unaccented form) เชน่ a, an, the, to, for, but, and, shall2.2 เสยี งสระประสม (Diphthongs) สระประสม หมายถึงสระทเ่ี ล่อื นจากจดุ หนงึ่ ไปยังจดุ หน่ึง โดยจดุ แรกเป็นจุดเริม่ ตน้ จุดที่เลอื่ นไปเป็นจุดจบของเสียงสระน้ัน เสียงสระประสมท้ังสองจุดรวมกนั เปน็ 1 หน่วยเสยี ง ซง่ึ การออกเสยี งสระสองเสียงตอ่ เน่ืองกัน โดยการเล่อื นลนิ้ ไปยังตาแหน่งทตี่ า่ งกัน มีผลทาให้ลกั ษณะรปู ปากเปล่ยี นไปจากเดิม จึงเป็นเสียงยาวและเปน็ เสยี งเกร็งกล้ามเนื้อทุกเสยี ง เสยี งสระประสมในภาษาอังกฤษมีอยู่ 2 ประเภทประเภทแรกเปน็ การเล่ือนจากเสียง/e, ɔ,ɒ, ə, ɑ/ ไปสูเ่ สยี ง /ɪ, ʊ/ ประเภททสี่ องเปน็ การเลื่อนจากเสยี ง /ɪ, e, ʊ / ไปสเู่ สยี ง /ə/ประเภทแรกได้แกเ่ สยี ง ดังต่อไปน้ี/ eɪ / day, made, game, eight, late, face, safe/ ɑɪ / my, cry, write, high, die, either, buy/ ɔɪ / boy, toy, noise, toil, point, moist/ əʊ / go, so, old, soap, toe, road, coat, home/ ɑʊ / how, allow, round, sound, house, cow, town

41ประเภทสองได้แกเ่ สียง ดังต่อไปนี้/ ɪə / hear, here, cheer, year, idea, museum, real/ eə / wear, bear, care, share, scare, chair, pear, fair/ ʊə / tour, moor, poor, sure, endureเสียงสระประสมมีอยู่ 8 เสียง ดังนี้1) เสียง / eɪ / เริม่ โดยการออกเสยี ง/e/ แลว้ คอ่ ยๆเลอ่ื นลน้ิ ให้สูงขึ้น ผลที่เกดิ ข้นึ ก็คือ ปากท่ีอา้ ไว้พอสมควรสาหรับเสียง /e/ จะเหยยี ดมากขน้ึ เปน็ เสียง /ɪ/ คนไทยมักเกดิ ความสับสนในการออกเสยี งสระ/e/ และเสยี งสระ / eɪ / โดยจะออกเสยี งสระทงั้ คู่เปน็ เสียงเดยี วกัน ซึ่งจาเป็นต้องฝกึออกเสียงเทยี บคดู่ ังน้ี bet - bait less - lace let - late chess - chase2) เสียง / eə / เปน็ เสยี งยาว เรม่ิ ด้วยการออกเสยี งคล้ายเสียงสระ “แ-” ในภาษาไทย แต่เหยยี ดมมุ ปากน้อยกว่า ต่อไปใหข้ ยับปากขึน้ เสยี งสระน้มักจะสะกดดว้ ยรปู อักษร r ดงั นน้ั หากออกเสยี งสาเนียงองั กฤษ ก็ไม่ต้องออกเสียง r แต่ถา้ ออกเสยี งสาเนียงอเมริกัน ให้ออกเสียงพยญั ชนะ r ดว้ ยเช่น where, care, fair3) เสียง / əʊ / เป็นเสยี งยาว เริ่มตน้ ด้วยการห่อปากเล็กน้อยแลว้ ยกคางหรอื ขากรรไกรข้ึนใหป้ ากห่อมากเข้า มกั จะออกเสยี งเป็นสระ “โ-”ในภาษาไทยตวั สะกดสาหรับเสยี งนส้ี ่วนใหญแ่ ล้วมี “o”รวมอยดู่ ว้ ย เชน่ so, toe, bowl4) เสียง / ʊə / เป็นเสยี งยาวออกเสียงไดโ้ ดยเร่มิ ด้วยเสยี ง “ออ”หรอื / ɔː / แลว้ เลื่อนล้ินไปข้างหนา้ เล็กน้อยพร้อมทัง้ ปล่อยปากทีห่ ่อออกให้เปดิ กวา้ งเล็กนอ้ ยก็จะไดเ้ สียง / ʊə / เสยี งน้ีเปน็ เสยี งยาวคล้ายการออกเสยี ง “อัว” ในภาษาไทย จงึ ไมเ่ ป็นปัญหาสาหรับคนไทยนัก แต่ในสาเนียงอังกฤษ มักจะเกิดพยางค์ท่ีมเี สียง /j/ เป็นเสยี งพยัญชนะตัวที่สองในเสยี งควบกล้า ซงึ่พบวา่ คนไทยจะไม่ออกเสียง /j/ ในเสียงควบกลา้ ซ่งึ ไม่ถูกต้องดงั นั้นจึงต้องพยายามออกเสียงควบกลา้ /j/ใหไ้ ด้ เสียงสระ/ ʊə / มกี ารสะกดด้วยตัวอกั ษรแตกตา่ งกัน เช่น poor, tour,sure, endure5) เสียง / ɪə / เป็นเสียงยาว คลา้ ยสระ เอีย ในภาษาไทย สระนีเ้ ปน็ สระปากเหยียดออกเสยี งโดยการเคล่ือนล้นิ จาก /ɪ/ ไปยงั /ə/ ข้อควรระมัดระวังสาหรบั คนไทยคือ หากสระเสียงนีเ้ กดิ หนา้พยญั ชนะตัวสะกดที่เป็เสยี งข้างลิน้ เช่น real หรอื เสียงเสียดเเทรก เชน่ ในคาวา่ fierce จะต้องออกเสียงพยัญชนะตัวสะกดด้วย ไม่เชน่ น้ันจะทาให้คนฟังไมเ่ ข้าใจ6) เสียง / ɑɪ / เปน็ เสียงยาวคลา้ ยสระ อาย ในภาษาไทย ตวั สะกดสาหรับเสียงน้ีมีแตกต่างกนัออกไป เช่น time, bite, fine ในคาทม่ี ตี ัวสะกดคนไทยจะมักไม่ออกเสียงตัวสะกด ดังน้นั จงึจาเปน็ ตอ้ งฝึกให้ออกเสยี งตวั สะกดดว้ ย นอกจากน้ีควรตะหนกั ถึงว่า เสยี งสระนีถ้ ้าเกิดในพยางค์ที่ไมม่ ีตัวสะกดหรอื พยางคท์ ่ีมตี ัวสะกดเปน็ พยัญชนะเสียงก้อง เสยี งสระจะยาวข้นึ แต่ถา้ ตัวสะกดเป็นเสียงพยญั ชนะ ไมก่ อ้ ง เสียงสระจะสน้ั ลง7) เสียง / ɔɪ / เป็นเสยี งยาวคล้ายเสยี งสระ ออย ในภาษาไทย ตัวสะกดสาหรับเสยี งนีม้ ักมีตัว “o”

42 รวมอย่ดู ว้ ยเสมอ เช่น voice, noise, joy ปญั หาการออกเสียงของคนไทยคอื ไม่ออกเสียง ตัวสะกด ซ่งึ จะเปน็ ปญั หาในด้านความหมาย จึงจาเปน็ ต้องฝกึ ออกเสยี งสระน้ีในคาที่มีตวั สะกด เช่น coin,loin, foil, boil8) เสียง / ɑʊ / เป็นเสียงยาวออกเสยี งคล้ายสระ อาว ในภาษาไทยขอ้ ควรระวังคือ เมื่อพยญั ชนะ สะกดท้ายคา ต้องออกเสียงพยญั ชนะท้ายคาด้วยเสมอ ในการสะกดมักจะมีสระ “o” รวมอยู่ด้วย เสมอ เช่น sound, cow, townเสยี งสระประสมเพม่ิ เติม เสียง / ju /เรมิ่ จากการดนั ลน้ิ ส่วนกลางข้นึ ไปขา้ งหน้าในตาแหน่ง /i/ หอ่ ริมฝีปากจีบแคบกระชับเข้าพร้อมกับหดลนิ้ ดึงลนิ้ สว่ นหลงั ขึ้นไปยังตาแหน่งเสียง /u/ เสยี งนี้พบสะกดด้วย ew, eu หรือ iew ew - dew, new, jew iew - view ue - due, fuel, tuesday u-e - cute, muteMonophthong Diphthongs s(ภาพประกอบ: เสียงสระเดี่ยวและสระประสมภาษาอังกฤษ)

43 สรปุ เสียงสระหมายถึงเสียงที่เปล่งออกมาจากลาคอโดยตรง ไม่ถูกสกัดกั้น ณ ท่ีใดท่ีหน่ึงในช่องทางเดินของลมเลย โดยเสียงนี้กระทบเส้นเสียงท้ัง 2 ข้าง เกิดเป็นเสียงส่ันสะเทือน มีเสียงก้องกังวานและออกเสียงได้ยาวนานกว่าเสียงพยัญชนะ คุณสมบัติและลักษณะท่ีแตกต่างกันของเสียงสระข้ึนอยู่กับตาแหน่งของล้ินและลักษณะของริมฝีปากเป็นสาคัญ ส่วนเส้นเสียงนั้นอยู่ในลักษณะสั่นสะเทือนเหมือนกันทุกตัวสระ สาหรับการบังคับกระแสลมทุกตัวเหมือนกันหมดเช่นกัน คือ อยู่ในลักษณะกลางๆ กระแสลมจะพุ่งผ่านช่องปากออกมาตรง ๆ เหนอื สว่ นกลางของล้ิน การเปลง่ เสียงสระเสยี งเดีย่ ว ต้องศกึ ษาลักษณะของริมฝีปากและความสูงต่าของล้ินเป็นหลักสาคัญในการทจี่ ะเปล่งเสยี งสระใหแ้ ตกตา่ งกัน ลกั ษณะของริมฝีปากหมายถึง ลักษณะการห่อริมฝีปาก เมื่อใดมีลักษณะหอ่ รมิ ฝีปาก เม่อื ใดมกี ารเหยยี ดริมฝปี ากหรือการเปลง่ เสยี งใดท่รี ิมฝีปากไมห่ ่อ ลักษณะของเสียงสระ คือเป็นเสียงท่ีเปล่งได้ดังโดยเส้นเสียง (Vocal cords) เปิดกว้าง เสียงสระทุกเสียงเป็นเสียงโฆษะ (Voiced) หรือเสียงก้อง เป็นเสียงที่ผ่านจากปอดโดยไม่มีการกักของลม สระเดี่ยวท่ีเปล่งออกมานั้นหมายถึงสระที่มีลักษณะการเปล่งเสียงเดียว โดยมีลักษณะของอวัยวะที่เปล่งเสียงคือลิ้นแสะริมฝปี ากอยู่ในอาการเดียว ไมม่ ีการเคล่ือนไปสู่ตาแหน่งอื่นอันจะทาให้ลักษณะเสียงเปลี่ยนไป สัญลักษณ์ท่ีใช้เป็นสญั ลกั ษณ์เดียว แต่อาจจะมีเครื่องหมายแสดงความยาวของเสียง หน่วยเสียงสระเด่ียวจานวน 12 หน่วยเสียงประกอบดว้ ย ɪː, ɪ, e, ə, ʌ, ɒ, ɜː, ɑː, æ, ʊ, uː, ɔː เสียงสระประสมในภาษาอังกฤษหมายถึง การออกเสียงสระสองเสียงต่อเน่ืองกัน โดยการเล่ือนลิ้นไปยงั ตาแหนง่ ต่างกนั มีผลทาให้ลกั ษณะรปู ปากเปลย่ี นไปจากเดิม จึงฟงั เป็นเสยี งยาวและเป็นเสียงเกร็งกล้ามเน้ือทุกเสยี ง การเกดิ สระประสมจะเกิดในหนึ่งพยางค์ เมอ่ื พยางค์น้ันมกี ารเล่ือนของเสียงสระจากจุดหนึ่งไปสู่อีกจุดหนึ่ง จุดแรกให้เป็นจุดเร่ิมต้น จุดท่ีเสียงเล่ือนไปเป็นจุดจบของเสียงสระประสมนั้น ทั้งสองจุดจัดเป็นองคป์ ระกอบของสระประสม 1 หนว่ ยเสยี ง เสียงสระประสมในภาษาอังกฤษมีอยู่ 2 ประเภท ประเภทแรกเป็นการเลื่อนจากเสียง/e, ɔ, ɒ, ə, ɑ/ ไปสู่เสียง /ɪ, ʊ/ ประเภทที่สองเป็นการเลื่อนจากเสียง /ɪ, e, ʊ /ไปสเู่ สยี ง /ə/ เสียงสระประสม แบ่งได้ออกเป็น 2 กลุ่ม ประเภทแรกเรียกว่า Diphthongal glides ซ่ึงมีลักษณะดังนี้ เลื่อนจากเสียง /e, ɔ, ɒ, ə/ ไปสู่เสียง /ɪ, ʊ/ ประกอบด้วยเสียง / eɪ, ɑɪ, ɔɪ, əʊ, ɑʊ/ อีกประเภทหนึ่งเรียกว่า Centering diphthongs ซ่ึงเป็นการเลื่อนเสียงจาก /ɪ, e, ʊ/ ไปสู่เสียง /ə/ประกอบดว้ ย /ɪə, eə, ʊə/

44 แบบฝึกหดั1. คำสัง่ จงโยงเสน้ จับคสู่ ัญลักษณ์ทางสทั ศาสตรแ์ ละความหมายให้ถูกต้อง/kɛr(ə)ktəˈrɪstɪk/ □ □ imagination/klasəfəˈkeʃ (ə)n/ □ □ consideration/kənsɪdərˈeɪʃ(ə)n/ □ □ flexibility/dətərməˈneɪʃ(ə)n/ □ □ individual/dɪsəˈbɪlədi/ □ □ justification/əvæljəˈweɪʃ(ə)n/ □ □ modification/ɪɡzæməˈneɪʃ(ə)n/ □ □ examination/fleksəˈbɪlədi/ □ □ characteristic/ɪmædʒəˈneɪʃ(ə)n/ □ □ determination/ɪndəˈvɪdʒ(u)əl/ □ □ classification/dʒəstəfəˈkeɪʃ(ə)n/ □ □ disability/mɑdəfəˈkeɪʃ(ə)n/ □ □ evaluation/ɔrɡənəˈzeɪʃ(ə)n/ □ □ organization

452. คำสงั่ จงเขียนประโยคภาษาอังกฤษจากสญั ลกั ษณ์ทางสทั ศาสตรท์ กี่ าหนดให้ Phonetic symbols English words/ai ədɔ:r ju//ai kanɒt bɛː tu bi əpart frəm ju//ai kanɒt stɒp θɪŋkɪŋ əbaʊt ju// ai kɛː fɔ:r ju//ai driːm ɒv ju//ai fiːl sʌmθɪŋ fɔ:r ju//ai lɒst mai hɑːt ɒn ju//ai lʌv ju//ai mʌst hæv ju//ai ni:d ju bai mai said//ai wɒnt ju//ju a:r mai wʌn ænd əʊnli// ju a:r mai pərfekt mætʃ// ju a:r wʌn in e mɪljən//ju həʊld ðə ki: tuː mai ha:rt//jɔ:r lʌv ɪz mai drʌɡ/

463. คำส่งั จงเขยี นสญั ลกั ษณ์ทางสทั ศาสตร์ลงในช่องวา่ งท่กี าหนดใหใ้ หถ้ ูกต้องDelivery /…………………/Elocution /…………………/Particular /…………………/Socialize /…………………/Economy /…………………/Management /…………………/Process /…………………/Procession /…………………/Vehicle /…………………/Tongue /…………………/Glossary /…………………/Dictionary /…………………/Attempt /…………………/Wastebasket /…………………/American /…………………/Definition /…………………/Assumption /…………………/French /…………………/Apologize /…………………/Defensive /…………………/

474. คำสง่ั จงวงกลมเสียงทไ่ี มเ่ ขา้ พวก และเขียนสัญลักษณท์ างสทั ศาสตร์ของเสยี งสระท่เี กิดกับกลมุ่ คาศัพทท์ ่ีเหลอื ให้ถูกตอ้ ง1. field seize feet key look /….…/2. mother help among one cut /….../3. bite fine cry teach fight /….../4. first care bear their where /….../5. dirty her high shirt fur serve /….../6. sheep ship meet eaten read /….../7. bath heart part aunt run /….../8. lead desk said went any /….../9. enjoy avoid go toy soil /……./10. fear deer beard dry museum /……./11. woman famer figure alone evil /……./12. moon foot food wound through /……./13. symbol police build fit lip /……../14. curl court talk floor saw /……../15. door born for water mull /……../16. won mountain sun does son /……../17. day mate rain bay buy /……./18. cold both how doe although /……./19. house loud town cow tour /……../20. not dog because laugh cough /……../21. calm happy clerk march half /……../22. plaid land cat bear math /……./23. four world journey earl serve /……./24. ocean real pear idea cheer /……./25. poor moor sure your round /….../26. lay went paid cake vein /……./27. mother water salt call doll /.…../28. school do full butcher took /.…../29. zip except bit machine Kym /….../30. what watch holiday not set /….../

485. คำสง่ั จงเขยี นสญั ลกั ษณ์ทางสัทศาสตร์ (Phonetic symbol) ของเสยี งสระประสมจากคาต่อไปน้ีtheater ………………. boy ……………… oil ………………ware ………………. pain ………………bite ……………… care ………………noise ……………… I ………………high ……………… Clear ………………dome ……………… Poor ………………round ……………… Sure ………………soil ……………… casual ………………my ……………… Ear ………………south ……………… cry ………………out ……………… guava ………………your ……………… low ………………eight ……………… safe ………………their ……………… day ………………lazy ……………… tour ………………doe ……………… town ………………count ……………… soap ………………cow ……………… point ………………boat ……………… oil ………………year ……………… allow ………………cheer ……………… joy ………………deer ………………6. คำสัง่ จงเขยี นสัญลักษณท์ างสทั ศาสตร์เรื่องสระเสียงสน้ั หรอื เสยี งยาวให้ถกู ต้อง1 saw _________ 2 search _________3 fur _________ 4 first _________5 hit _________ 6 cat _________7 fell _________ 8 heat _________9 book _________ 10 men _________11 odd _________ 12 wall _________13 beat _________ 14 moose _________

4915 soup _________ 16 cup _________17 but _________ 18 America _________19 free _________ 20 not _________21 man _________ 22 part _________23 word _________ 24 son _________25 cough _________ 26 see _________27 blood _________ 28 too _________29 clerk _________ 30 oven _________31 shoe _________ 32 carve _________33 floor _________ 34 plug _________35 screen _________ 36 push _________37 deep _________ 38 pad _________39 clean _________ 40 ship _________11. คำสงั่ จงเติมเสยี งท้ายคาให้ถูกต้อง7. คำสง่ั จงเปล่ยี นรูปคาต่อไปนี้ใหอ้ ยใู่ นรูปพหูพจน์และเติมเสียงทา้ ยคาให้ถูกตอ้ ง market picture face cat station message case table book cup place flower plate dress paper

50s z Iz8. คำสง่ั จงขดี เส้นใต้พยัญชนะท่ไี มอ่ อกเสียง Castle EchoScissors Psychology SalmonKnife Sign ClimbCaught Wrap AutumnCupboard Iron GuitarSandwich เอกสำรอ้ำงอิงนันทนา รณเกียรติ. (2555). สทั ศำสตรเ์ พื่อกำรสอนกำรออกเสยี งภำษำองั กฤษ. พิมพ์ครง้ั ท1ี่ . กรุงเทพ: สานักพิมพม์ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.กรองแกว้ ไชยปะ. (2548). สัทศำสตรอ์ งั กฤษและสรวิทยำเบือ้ งตน้ . พมิ พค์ ร้ังท3่ี . เลย: โรงพมิ พร์ ุ่งเเสง.ประกอบ ผลงามและพชั รนิ ทร์ ดวงศรี. (2558). สทั ศำสตรภ์ ำษำอังกฤษเพื่อกำรใช.้ เลย: มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเลยพงษเ์ ทพ บญุ เรือง. (2560). สัทศำสตรแ์ ละสรวิทยำภำษำอังกฤษ. เลย: มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเลย.

51 บทท่ี 4 : สทั สมั พันธ์ (Suprasegmental features)วัตถุประสงค์ 1. สามารถอธิบายสัทสัมพนั ธต์ า่ งๆ ได้ 2. สามารถสาธติ สทั สัมพนั ธต์ ่างๆ ได้ 3. สามารถเช่ืยมโยงสทั สัมพนั ธ์ต่างๆ ไปสรู่ ะดบั ขอ้ ความ (Discourse) ได้บทนำ สทั สัมพันธ์ (Supre-segmental Features) หมายถึงลักษณะต่าง ๆ ของเสียงพูดซ่ึงมีมากกว่าเสียงพยัญชนะและสระ สัทสัมพันธ์ที่สาคัญได้แก่ การเน้นเสียง (Stress) ระดับเสียง (Pitch) ความยาว (Length)ทานองเสียง (Intonation) การเชื่อมเสียง (Linking Sounds) การหยุดเสียง (Pause) คุณภาพของเสียง(Voice Quality) ความดงั ของเสียง (Loudness) และยังมีลักษณะของเสียง ต่าง ๆ เหล่านี้อีก ลักษณะของเสียงประเภทสัทสัมพันธ์เหล่านี้ เป็นอิสระจากกันและมีความสัมพันธ์กับกลไกกระแสลม สภาวะกล่องเสียงและฐานกรณ์ ตา่ ง ๆ ภายในชอ่ งปาก4.1 กำรเนน้ เสยี ง (Stress) การให้น้าหนักพยางค์ในคาของภาษาอังกฤษ ผู้พูดควรพึงระวังเพราะภาษาไทยต่างจากภาษาอังกฤษภาษาไทยเปน็ ภาษาตระกูลคาโดด ดังน้ันในการสนทนาภาษาไทยหรือการอ่านออกเสียงในภาษาไทย ผู้พูดจะเนน้ เสียงทกุ ๆ คาเท่ากัน และจะมีเสียงพยางค์ท้ายเป็นเสียงที่ดังที่สุด แต่ภาษาไทยไม่มีการเน้นเสียงหนักเบาในคา เหมอื นอย่างเสยี งในภาษาองั กฤษ เพราะฉะน้ันเมอื่ สนทนาภาษาอังกฤษก็ควรระวังเช่นเดียวกัน โดยไม่ควรเนน้ เสียงหนักแต่ละพยางค์เท่ากัน มิฉะน้ันชาวต่างชาติจะไม่เข้าใจความหมาย หรือลงน้าหนักผิดท่ีอาจทาให้ความหมายเปลยี่ นไป การลงน้าหนักคาในภาษาอังกฤษไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว ไม่ว่าจะลงน้าหนักคา วลีหรือประโยคในภาษาอังกฤษ เพราะจะขึ้นอยู่กับลีลาและอารมณ์ของผู้พูด สถานการณ์ในขณะที่กาลังพูด และการใหค้ วามหมายในขณะทพ่ี ดู บางครง้ั คาทีไ่ มม่ คี วามสาคญั ในประโยค เช่นคาท่ีทาหน้าท่ีทางไวยากรณ์ คาบุพบท(Prepositions) คานาหนา้ นาม (Articles) มักจะไม่ใหน้ า้ หนกั คา แต่ถา้ ในบางสถานการณ์ผู้พูดเห็นว่าสาคัญอาจลงน้าหนักคาน้ันได้ โดยท่ัว ๆไปแล้วคาท่ีลงน้าหนักจะเป็นคาประเภทที่มีความหมาย (Content words)เช่น คานาม คากริยา คาคุณศัพท์ คาวิเศษณ์ รวมท้ังคาสรรพนามท่ีใช้ถามจะมีการให้น้าหนักคาด้วย (อัญชลีผาสกุ นิรนั ต์, 2546) ตัวอย่างของประโยคThat | was | the | best | thing | you | could | have | done!จะเหน็ ได้ว่ามีการเนน้ เสยี งท่ีคาวา่ \"best\" และ \"done\" โดยคาอืน่ ที่เหลอื จะไม่มีการเน้นเสียง แตอ่ ย่างไรก็ตามเมือ่ ต้องการเน้นทค่ี าใดคาหนึ่งโดยเฉพาะ การเน้นเสียงจะเปลีย่ นไป เช่นJohn hadn't stolen that money. (จอหน์ ไม่ไดข้ โมยเงินไป)

52จะเนน้ เสียงได้หลายแบบ เพื่อแสดงหลายความหมายโดยนัยของประโยค เชน่John hadn't stolen that money. (... คนอืน่ เปน็ คนขโมย)John hadn't stolen that money. (... คณุ บอกว่าเขาทา แต่เขาไมไ่ ด้ทา)John hadn't stolen that money. (... ไดร้ ับเงนิ แตไ่ ม่ได้ขโมย)John hadn't stolen that money. (... จอห์นขโมยเงนิ ของคนอน่ื )John hadn't stolen that money. (... จอห์นขโมยอยา่ งอน่ื )กำรเนน้ เสยี งหนกั เบำของพยำงค์ (Syllables) การเน้นเสียงหนักเบา ในพยางค์ของภาษาอังกฤษจะไม่เท่ากัน เน่ืองจากภาษาอังกฤษมีพยางค์หนัก(Stressed Syllable) และพยางค์เบา (Unstressed Syllable) และคนไทยส่วนมากไม่ชินและมักจะลงน้าหนกั ทุกพยางคเ์ ท่ากนั การเนน้ เสยี งหนกั เบาของพยางค์ในภาษาอังกฤษทไี่ มเ่ ทา่ กันจึงมีความสาคัญอย่างยิ่งเพราะถ้าเน้นเสียงหนักเบาผิดท่ี ความหมายของคา คานั้นก็จะเปล่ียนไป เพราะคาในภาษาอังกฤษ ไม่ได้มีแค่คาท่ีมีพยางค์เดียว หรือสองพยางค์ คาที่มีมากต้ังแต่ 3 พยางค์ขึ้นไปอาจมีเน้นพยางค์หนักหลัก (PrimarySyllable) พยางค์หนักรอง (Secondary Stressed Syllable) และพยางค์เบา (Unstressed Syllable)วธิ กี ารตอ่ ไปนี้ เปน็ หลกั ของการเน้นเสียงในพยางค์1. คา 2 พยางค์ ไม่มกี ฎเกณฑ์ตายตวั สาหรับการเนน้ เสียง1.1. คากริยาท่ลี งทา้ ยด้วยเสยี งสระยาวหรอื สระผสม จะเน้นท่ีพยางคท์ สี่ องapply attract arrive assist1.2 คากรยิ าท่ีลงท้ายดว้ ยสระเสียงส้นั หรือพยัญชนะท้ายเปดิ จะลงเสยี งหนักท่พี ยางคแ์ รกhollow borrow window thorough1.3 คาประสมทเ่ี ป็นคานาม จะลงทา้ ยท่ีพยางคแ์ รก ไม่ว่าจะเปน็ คานามกบั คานาม คาคณุ ศัพทก์ บั คานามblackbird drugstore bathing suit greenhouse1.4 คาประสมท่เี ป็นกรยิ า หรือ ประเภท Two-word verbs จะลงเสยี งหนกั ทพ่ี ยางค์หลังoverlook overcome look up put away1.5 คาประเภท Reflexive pronoun ทล่ี งทา้ ยด้วย –self จะลงเสียงหนกั ทีพ่ ยางค์หลังmyself herself yourself themselves1.6 การนบั เลขทีล่ งท้ายด้วย –teen ลงเสยี งหนกั ทพ่ี ยางคแ์ รก ส่วน – ty ลงทา้ ยพยางคแ์ รกthirteen fourteen fifteen eighteenthirty forty fifty eighty1.7 คา 2 พยางค์ส่วนใหญน่ อกเหนอื จากนี้ ประมาณ 3 ใน 4 จะลงเสยี งหนักท่ีพยางคแ์ รกเนน้ พยางคห์ น้า เนน้ พยางคห์ ลังteacher canteen

53 apple cartoon illness campaign Monday donate husband arcade color shampoo circus although island boutique mountain technique entrance augment2. คา 2 พยางค์ เน้นได้ท้ังพยางคห์ นา้ และพยางคห์ ลัง โดยหน้าท่ีของคาจะเปลย่ี นไป เนน้ พยางคห์ นา้ (คานาม) เนน้ พยางคห์ ลงั (คากริยา) present present support support export export import import record record object object refuse refuse rebel rebel decrease decrease increase inecrease3. คาประกอบท่มี ี Prefix หรอื Suffix จะเนน้ ที่รากคา (Base form or Root word) เพราะรากคาเป็นส่วนท่ีมีความหมายสาคัญของคาteaching teacher player kingdomgrateful kindness workable happinessreturn deport befriend untrue4. คา 3 พยางค์ ที่ลงท้ายด้วย –ion, -ity, -itude, -ify, -itive, -ian, ual, - eous, -ic, -ious, -ial การเน้นเสยี งหนกั จะอยพู่ ยางคห์ นา้ Suffix นัน้ ๆoccasion invasion discussion electionability community fertility vitalityaptitude gratitude altitude attitudeclassify terrify glorify signifypositive sensitive primitive relativelibrarian musician comedian Canadian

54 unusual effectual perpetual intellectual courageous outrageous spontaneous adventurous fanatic symbolic economics autocratic delicious luxurious spacious fallacious potential essential commercial industrial5. คาตั้งแค่ 3 พยางค์ขึ้นไป ที่ลงท้ายด้วย Suffix ต่อไปนี้ การเน้นเสียงหนักจะอยู่พยางค์ที่สาม-ize, -ate, fy criticize minimize organize memorize graduate circulate estimate integrate simplify classify identify intensifyคาท่มี ีมากกวา่ 3 พยางค์ ขนึ้ ไป ผ้เู รียนจะตอ้ งมีเทคนิคในการจา การเน้นเสียง โดยทั่ว ๆ ไปคาที่มีมากกวา่ 3 พยางค์ จะเนน้ อยู่ที่พยางค์แรก แต่เม่ือเติม Suffix ลงไป การเน้นจะเปล่ียนไปเน้นพยางค์ที่ 2 และเม่ือเตมิ Suffix ตอ่ ไปอกี กจ็ ะเนน้ ไปท่พี ยางค์ ถดั ไป เช่นpersonal personify personalitypolitics political politicianmechanism mechanical mechanizationphotograph photographer photographiccontemplate contemplative contemplationdiplomat diplomacy diplomatichypocrite hypocrisy hypocriticalparticle particular particularityintellect intelligence intellectualสรุปหลกั การจาวธิ ีการเนน้ คาประเภทต่าง ๆ (1) คาท่ีลงทา้ ยด้วย –self หรอื –selves (reflexive pronouns) เวลาออกเสยี งจะลงเสยี งเน้นหนักท่ีสว่ นหลังคือท่ี –self หรอื –selves เชน่ mysélf himsélf yoursélf oursélves (2) คาท่ลี งท้ายดว้ ย –teen จะลงเสยี งหนักท่สี ่วนหลังคือคาว่า –teen แต่ตรงกันข้ามกบั คาวา่ –ty จะลงเสียงหนกั ท่ีส่วนหน้า sixtéen síxty seventéen séventy eightéen eíghty (3) คาสองพยางค์ทีเ่ ป็นได้ท้ังคานามและคากรยิ า ถา้ เป็นคานามลงเสียงเนน้ หนักที่พยางคแ์ รกของคา ถ้าเป็นคากริยาลงเสียงเนน้ หนักท่ีพยางค์หลงั ของคา คานาม คากรยิ าábstract abstráctcóntest contéstrécord recórddésert desért

55prógress progrésséxploit exploítcónduct condúctíncrease incréasecónflict conflíctdígest digést(4) คาท่ลี งท้ายดว้ ย suffix ต่อไปน้ี–tion, -sion, -ic, -ian, -tor, -ious,-ity, -ify, -itive, -ish จะเนน้ หนกั ท่ีพยางค์หน้า suffix นัน้-tion -sionformátion discússioninvéntion occásionimaginátion comprehénsion-ic -ianpúblic librárianpacífic comédianecónomic historian-tor -iouscalculátor suspíciousdiréctor tédiousradiátor superstítious-ty -ifynobílity clássifyunivérsity beáutifypossibílity persónify-itive -ishpósitive estáblishsénsitive accómplishdétective distínguish(5) คาที่เติม prefix หน้าคา และเติม suffix ท้ายคา เวลาออกเสียงจะเนน้ เสียงหนักทพ่ี ยางคเ์ ดิมของคาท่ียงั ไม่ไดเ้ ติม prefix หรอื suffixนัน้retúrn clévernessunimpórtant abándonment

56impóssible wónderfulkíndness qúicklyinsíde wísdom(6) คาที่มตี ง้ั แต่3 พยางค์ขึ้นไป ถา้ พยางคท์ า้ ยลงทา้ ยด้วย –al, -ate,-ble, -lly, -lar, -ment, y เวลาออกเสียงจะเนน้ หนักท่ีพยางคท์ ่ีสามนบั จากพยางค์ทา้ ย-al -ateoríginal appréciatepráctical assóciate-ble -llypóssible áctuallysuítable enáturally-lar -mentfórmular góvernmentpópular mánagement -y photógraphy moméntaryนอกจากน้ี จะยกตวั อยา่ งท่ีลงเสียงหนกั ตา่ งกนั ซ่ึงจะทาให้มคี วามหมายต่างกันได้1. green house = a house that is green greenhouse = a grass structure used for growing plants.2. black bird = any bird that is black. blackbird = a particular kind of bird.3. white house = a house that is white in color. White House = the residence of the President of the U.S.4. cheapskates = people that are stingy. cheap skates = inexpensive skates.5. longboat = a particular kind of boat. long boat = any boat that is long.4.2 กำรเช่อื มเสียง (Linking sounds)

57 การออกเสียงคาในภาษาอังกฤษ มีแบบแผนในการออกเสียงที่น่าสนใจอีกแบบหน่ึง ซ่ึงผู้เรียนภาษาอังกฤษควรเรียนรู้และฝึกใช้ฟังและพูด เพ่ือความสามารถในการเข้าใจ การฟัง การพูด และการมีทักษะในการสอ่ื สาร คอื การออกเสียงเชื่อมต่อระหว่างคา (Linking sound or Linking word) การสนทนาภาษาอังกฤษกับเจ้าของภาษา ผู้พูดต้องระลึกเสมอว่าภาษาอังกฤษและภาษาไทยมีความแตกต่างกัน เมื่อผสมเสียงสระและเสียงพยัญชนะ ทาให้เกิดเป็นกลุ่มคา กลุ่มวลีหรือประโยคเพ่ือนาไปใช้ในการสนทนา ปัญหาท่ีผู้ฟังพบบ่อยคือไม่เข้าใจเน้ือหาของกลุ่มคาวลีหรือประโยคท่ีรับฟังได้ เพราะเพราะชาวต่างชาติมีเทคนิคผสมเสียงภาษาอังกฤษเพื่อให้สะดวกต่อการสนทนาโดยลักษณะเช่นน้ีเรียกว่าเป็นการเปล่ียนแปลงด้านเสียง เพ่ือให้เสียงท่ีเกิดจากการผสมกัน พูดเป็นคาหรือวลีต่างๆโดยไม่ให้มีการสะดุดเกิดข้ึนซึ่งลักษณะเช่นน้ีจะไม่พบในภาษาไทย แต่เป็นลักษณะการเปล่ียนแปลงของเสียงในภาษาอังกฤษ คือการเปลี่ยนแปลงของเสียงท่ีเกิดจากการเช่ือมคา(Linking Sounds) การผสมกลมกลืนของเสียงพยัญชนะ(Assimilation) การตัดเสียงและละทิ้งเสียง (Ellipsis or Omission) โดยลักษณะการออกเสียงทั้ง 3 กลุ่ม มีวธิ ีการดังต่อไปนี้ 3.1 การออกเสียงเช่อื มโยงคา(Linking Sounds) การพดู ประโยคตา่ งๆ ในภาษาอังกฤษ ผู้พูดจะพบว่า มีคาบางคาท่ีลงทา้ ยดว้ ยพยัญชนะ และมคี าถัดไปขนึ้ ต้นดว้ ยเสยี งสระ เสียงพยัญชนะท้ายสดุ ในคาหนา้ กจ็ ะออกเสยี งเหมือนกับเสยี งแรกของคาทข่ี ้นึ ดว้ ยเสียงสระ การออกเสยี งแบบน้เี รียกวา่ การเช่อื มโยงคา( Linking) ซ่ึงสว่ นใหญ่จะเป็นการออกเสียงของคาท่ีมีความหมายเชอ่ื มโยงกับคาทีท่ าหน้าทที่ างไวยากรณต์ ่างๆ เช่น of, on, in, at, up, out ซึ่งการออกเสียงแบบเชื่อมโยงคาน้เี จา้ ของภาษาจะออกเสียงได้เปน็ ปกติ แต่ทาใหเ้ กดิ ปัญหาในการเรียนภาษาอังกฤษกับผู้ที่เรยี นภาษาอังกฤษเปน็ ภาษาตา่ งประเทศ(http://www.abax.co.jp/listen/liaison.html)กำรเชือ่ มคำในกริยำวลแี ละสรำ้ งประโยคคำถำม Come‫ﮞ‬outCome‫ﮞ‬in Hold‫ﮞ‬onHold‫ﮞ‬itFind‫ﮞ‬it She’s‫ﮞ‬on the phone.กำรเชอ่ื มคำในประโยค Not‫ﮞ‬at‫ﮞ‬allHow much‫ﮞ‬is‫ﮞ‬it ? Later‫ﮞ‬onDoes‫ﮞ‬it work ?กำรเชอื่ มคำวลีและคำประสมFirst‫ﮞ‬of‫ﮞ‬allThank‫ﮞ‬youAll‫ﮞ‬of‫ﮞ‬us 3.2 การเชื่อมโยงคา (Assimilation) หมายถึงการเปลี่ยนเสียงเพ่ือให้กลมกลืนกับเสียงที่อยู่ด้านหน้าโดยพิจารณาดังนี้ 1. เปลี่ยนตามลักษณะของเส้นเสียง เช่นเปล่ียนให้เป็นเสียงก้อง หรือไม่ก้องเหมือนกัน 2.เปลี่ยนตามลักษณะของฐานที่เกิดเสียง (Place of articulation) และ 3. เปล่ียนตามประเภทของเสียง(Manner of articulation) ตัวอยา่ งเช่น คานามท่ี “s” เมอ่ื เปน็ พหพู จน์ หรอื คากริยาที่เตมิ “s” เมอ่ื ประธานเป็นเอกพจนบ์ ุรุษที่ 3

58books /bʊks/ pens /penz/cats /kæts/ dogs /dɔgz/maps /mæps/ beds /bedz/walks /wɔks/ reads /ri:dz/stops /stΛps/ comes /kΛmz/คากริยาที่เติม –ed เม่ือเป็น Past tense จะออกเสียงเป็น /t/ เพราะตามหลังเสียงไม่ก้องแต่จะออกเสียงเปน็ –d เม่อื ตามหลังดว้ ยเสียงกอ้ งwalked /t/ smiled /d/stopped /t/ called /d/looked /t/ seemed /d/คาวา่ in- แปลว่า no, not, without กลายเป็น im- in- และ ir- ตามฐานท่ีเกิดของเสียงและ in- เปลี่ยนเป็น il- เพราะเปล่ียนตามลกั ษณะประเภทของเสยี งข้างลิน้ เหมอื นกนัimpossible (bilabial)imperfect (bilabial)indifferent (apico alveolar)insecure (apico alveolar)immature (nasal)immaterial (nasal)irregular (retroflex)irrational (retroflex)illegal (lateral)illogical (lateral) 3.3 การตัดคาหรือตัดเสียงบางเสียงออกไป (Ellipsis or Omission) ในการพูดวลีและประโยคในภาษาอังกฤษ ผู้พูดอาจจะลดคาหรือตัดบางคาทิ้งไปโดยเฉพาะคาที่ไม่ใช่คาให้ความหมายสาคัญ เช่น คานาหน้านาม คาบุพบท คาสันธาน และคาสรรพนาม ฯลฯ ตัวอย่างคาท่ีลดเสียง เช่น Do you want tocome ? (ลดเสียง to) หรือ Come and (ลดเสียง nd) look. (พัชรี พลาวงศ์, 2546) ส่วนเสียงที่อยู่ใกล้เคียงกัน บางครง้ั กร็ วมเป็นเสยี งเดยี วกนั เชน่ คาว่า horse กับ shoe เม่ือรวมกันกลายเป็น /hɔrʃʊ / นั่นคือเสียง sหายไปเพราะใกลเ้ คยี งกบั เสยี ง ʃ (เทียนมณี บุญจุน)ตวั อย่างอนื่ ๆ เชน่ Just think เสียง t หายไป กลายเปน็ /dʒəsθIŋk/ This sugar เสียง s หายไป กลายเปน็ / ðIʃʊgər / Softness เสียง t หายไป กลายเป็น / sɔfnəs / Cupboard เสียง p หายไป กลายเป็น / kəbərd /The boys swim เสยี ง z ใน /bɔIz / หายไป /ðə bɔI swim/

59Grandmother เสียง d ใน grand หายไป กลายเปน็ /grænmΛðər/4.3 ชว่ งจงั หวะ (Rhythm) Rhythm คือการหยุด (Pause) หรือการเว้นจังหวะในช่วง ๆ หน่ึงของคาพูดเพื่อใช้บอกให้ทราบขอบเขตของคา ของวลี และของประโยค มลี ักษณะเปน็ การทอดเสียงในคา วลี และประโยคในภาษาอังกฤษการพูดในภาษาไทยน้นั มีชว่ งจังหวะของการพูด ส่วนภาษาอ่ืน ๆนั้นมีความแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับตระกูลของภาษา บางภาษาอาจมที ุกพยางค์ทุกจงั หวะมีชว่ งท่เี ท่า ๆ กัน แต่สาหรับภาษาอังกฤษแล้ว การพูดมีช่วงจังหวะที่จัดเป็น Rhythm Unit ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มคาท่ีมีความสัมพันธ์ทางไวยากรณ์ ดังนั้นในประโยคเดียวอาจมีหนึง่ ช่วงจังหวะหายใจ 1 rhythm unit เทา่ น้นั ซึ่งหมายความวา่ ท้งั ประโยคไม่สามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มคาที่มีความเก่ียวพันทางไวยากรณ์ไดม้ ากกว่าหน่งึ กลุ่ม การแบ่งช่วงจังหวะน้ี ผู้พูดจะใช้หนึ่งช่วงลมหายใจโดยไม่ต้องมีการเวน้ หยุดระยะหายใจก่อนทจ่ี ะพดู จบ เชน่ (Gilbert, J.B., 1990)The tall dark and handsome student / is from KhonKaen.1 rhythm unit 1 rhythm unitAnon, / who can speak three languages, / is studying at Rajabhat Loei.1 rhythm unit 1 rhythm unit 1 rhythm unit Kampon Suksbai , / a new student in our class, / has been sick in the hospital for aweek./ Yesterday, / our English class decided to send him some beautiful flowers. / Theyasked me to get the flowers for him, / and they said / they would pay me for the flowerslater. นอกเหนือจากจังหวะแล้ว การแบ่งวรรคตอน (Pause) ก็มีความสาคัญในการสนทนาภาษาอังกฤษผู้พูดจะต้องแบ่งวรรคการพดู ใหถ้ ูกต้อง ส่วนมากจะเป็นหนึ่งข้อความ หรือหนึ่งประโยค ถ้ายาวไปก็อาจจะหยุดเปน็ กลมุ่ คา หรือกลุ่มวลี ถ้าแบ่งวรรคผดิ ความหมายกผ็ ิดพลาด (กาญจนา ควู ัฒนะศริ ,ิ 2533) เช่น Tanapum likes pines // apples. Jidapa likes pie// and // apples. Itikorn said // the boss is stupid. Daruni // said the boss // is stupid. Natdanai // owns his houseboat // and trailer. On-anong sold her house // boat // and trailer.

60 Meet me at the bus // stop when you need my help. Meet me at the bus stop // when you need my help. Tanakis // the mayor will meet you this evening. Tanakis the mayor // will meet you this evening.สรปุ ในภาษาองั กฤษ ชว่ งต่อของเสยี ง หรอื Juncture แบ่งเป็น 4 ชนดิ คอื1. Plus Juncture ใชเ้ คร่อื งหมาย (+) แสดงการเวน้ จังหวะการพูดในระหวา่ งคาหรือวลี ในกรณีทีม่ ีคาสองคาออกเสยี งคล้ายกัน ถ้าเว้นจังหวะไมด่ จี ะกลายเป็นว่าคาทงั้สองนน้ั ออกเสียงเหมือนกนั เช่นa. night rate /nayt + reyt/natrate /naytreyt/b. a. name /a+ neym/an aim /an + eym/2. Single-Bar Juncture ใช้เครือ่ งหมาย (/) แสดงการเว้นจงั หวะการพูดในประโยค ถ้าประโยคนั้นมี primary stress หลายแห่ง ประโยคนั้นตอ้ งใช้ Single-Bar แสดงตาแหนง่ การเว้นจังหวะการพูดดว้ ย เชน่a. Mr. Pirapat Ponrueng, / the manager, / won’t come today.b. Can you swim, / Mary?3. Double-Bar Juncture ใช้เคร่อื งหมาย (//) แสดงการเวน้ จงั หวะการพูดทจ่ี ะเกดิ ระหวา่ งคาต่าง ๆ เพื่อแสดงว่ายังไมจ่ บ ผฟู้ ังต้องฟงั ตอ่ เช่นa. He wants to buy some oranges // apples // and bananas.b. There are some pancakes left- // one // two // three.นอกจากนถี้ ้าเป็นประโยคคาถามประเภท Yes or No ก็จะแสดงการเวน้จังหวะไดโ้ ดยใช้เครื่องหมาย Double-Bar Juncture (//) ได้ เช่นa. Do you know him? //b. Will you go with me? //4. Double-Cross Juncture ใช้เครอื่ งหมาย (#) แสดงการเวน้ จงั หวะการพดู เมือ่ พูดจบแตล่ ะประโยค หรอืถ้าเป็นประโยคคาถามท่ใี ช้ Question Words นาหนา้ จะแสดงการเว้นจงั หวะได้โดยใช้เคร่อื งหมาย Double-Cross Juncture เชน่ กนั เชน่a. I’ll tell him when he comes back.

b. Who are you?

4.4 ทำนองเสียง (Intonation) รูปแบบของการสนทนาภาษาอังกฤษโดยทั่ว ๆ ไปนั้น ผู้พูดจะต้องพูดเป็นถ้อยความ เป็นคา วลีหรือประโยค แต่ในการสนทนาบางโอกาส อาจจะมีโครงสร้างลดรูปไม่เป็นประโยคท่ีสมบูรณ์ ก็สามารถเข้าใจได้

61จากเนื้อหา เรื่องราว หรือบริบท ส่วนอีกสาเหตุหน่ึงท่ีผู้ฟังไม่เข้าใจหรือคู่สนทนา อาจจะเกิดจากความสับสนของข้อความไมส่ ามารถแยกประเภทของประโยคได้ เช่นประโยคกากวม หรือไม่ถูกต้องตามทานองเสียงใน คาวลี และประโยค การสนทนาภาษาองั กฤษนั้นทานองเสยี ง (Intonation) มีบทบาททีส่ าคญั มาก ระดบั เสยี งสงู ต่าในภาษาอังกฤษ (Intonation) นน้ั เรยี กว่าทานองเสยี ง ในภาษาองั กฤษจะไม่มี การใช้เสียงสงู ตา่ ในคาเหมือนภาษาไทย แตจ่ ะกลับปรากฏในระดับประโยค โดยสัญลกั ษณ์ในการอา่ นประโยคท่ีชว่ ยใหก้ ารอา่ นและการจาเสียงสงู ตา่ ประโยค มีดังนี้ 1. การอธิบายและใช้ลูกศร ใชล้ กู ศรขึน้ และลง ลกู ศร แทนเสียงสูง และลูกศร แทนเสียงตา่ เชน่ ในประโยค a. I want a computer book. b. Do you hear me? No, I don’t. 2. ใช้เส้น เสน้ ท่ใี ช้แสดงระดบั เสยี งมี 4 เส้น คอื 1. ระดบั เสียงต่า(low) 2. ระดับเสียงกลาง (normal) 3. ระดับเสยี งสงู (high) 4. ระดบั เสียงสงู มาก (extra high) ตัวอยา่ งเชน่ 3. ใชจ้ ุดและสเกล (Dots and Musical Scale) เปน็ เคร่ืองหมายแสดงระดบั เสียงสูงต่าของประโยคในภาษาอังกฤษ ใชจ้ ดุ ตัวอย่างเชน่ ประโยค They are sad. ใช้ระดับความสูงของจุดบนสเกล สงู มาก (extra high) สงู (high)

62กลาง (mid)ตา่ (low)ตวั อย่างเชน่ ประโยค They are sadระดับเสยี งสูงตา่ ในภาษาอังกฤษ มี 3 รปู แบบ คอื1. Rising-Falling Intonation มีรปู /2 3 1/ คอื เริ่มด้วยระดับ 2 และขึ้นเสียงไป ระดับ 3แลว้ จงึ ลดมาระดบั 1Rising-Falling Intonation จะใชใ่ นประโยคประเภทตา่ ง ๆ ตอ่ ไปนี้ประโยคบอกเล่า (Simple Statement)ประโยคคาสงั่ (Command)ประโยคคาถามที่ข้ึนตน้ ดว้ ย WH – question (Question Words)ประโยคอุทาน แสดงอารมณผ์ ู้พดู

632. Rising Intonation มีรูป /2 3 3/ คอื จะเร่ิมดว้ ยระดบั 2 และเลอ่ื นข้ึนไประดับ 3 แลว้ ยงั คงใชเ้ สยี งสงู จนจบประโยค Rising Intonation ใชใ้ นประโยคประเภทต่าง ๆ ต่อไปน้ี ประโยคคาถามท่ีตอบดว้ ย Yes, No ใชก้ ับประโยคคาถามเสริม (Tag questions หรอื Attached questions) เมื่อผตู้ อบ ต้องการข้อมลูจากคาตอบ ใชค้ าถามส้นั ๆ เพ่ือแสดงวา่ เราสนใจในเรอ่ื งที่เขากาลังพูด ใช้กบั ประโยคที่แนะนาตัวคนอนื่ ในการสนทนา รวมท้ังการทกั ทายผู้ท่ีได้รับการแนะนา 3. Rising และ Rising-Falling Intonation ใชใ้ นประโยคประเภทต่าง ๆ ต่อไปนี้ ใชก้ ับคาที่เราต้องการให้ผู้ฟังสนใจเปน็ พเิ ศษ ใช้เมอ่ื กลา่ วถึงของประเภทเดียวกนั และเช่ือมด้วย “and”

64 ใชเ้ ม่ือเรยี กช่ือบุคคลทเ่ี รากาลังพูดด้วย ใช้เมือ่ ต้องการให้ผู้ฟงั เลือกอย่างใดอยา่ งหน่ึงนอกจากน้ี ในประโยคทยี่ าวและประกอบดว้ ย 2 clause เราจะมวี ิธอี อกเสียงท่ีตา่ ง ไปดังนี้ 1. ประโยคบอกเลา่ ท่ีมีคาเชื่อม and, but, or จะมีระดับเสียงเป็น /232: 231/ 2. ประโยคท่เี ปน็ การทกั ทาย จะมรี ะดบั เสยี งเป็น 232 และวลีที่ 2 จะขึ้นไป เปน็ ระดบั 2 และเสยี งสูงตอนทา้ ย เช่น แตอ่ าจออกเสยี งตรงชื่อคนเป็นระดบั 1 กไ็ ด้ เชน่ ถา้ ชอ่ื คนขน้ึ ก่อน กจ็ ะเปน็ ระดับเสยี งอกี แบบ ดงั น้ี 3. ประโยคขอร้อง จะมรี ะดบั เสยี ง /232/ เชน่

65 4. ประโยคท่เี ชื่อมดว้ ยคาว่า before, if, because, since, when จะมีระดบั เสียงเปน็ /232 : 231/ นอกจากน้ี พัชรี พลาวงศ์ (2546 ) อาจารยค์ ณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง ได้กล่าวว่าทานองเสียงมีอยู่สองระดับ ประกอบด้วย การขึ้นเสียงสูง (Rising) และการลงเสียงต่า (Falling) ศึกษาประโยคตอ่ ไปนเ้ี พอื่ นาไปประยุกต์ใช้ในสถานการณจ์ ริง กำรข้ึนเสียงสูง (Rising Intonation) ประโยคภาษาอังกฤษท่ีจะพูดด้วยทานองเสียงรูปแบบนี้ได้แกป่ ระโยคคาถามชนิด Yes-no question ประโยคทีเ่ ปน็ บอกเลา่ หรอื ปฏิเสธประโยคที่มีคาถามเสริม (Tagquestion) รวมท้ังประโยคที่มีการแบ่งคาหรือข้อความเป็นตอน ๆ หรือชนิด ก่อนถึงชนิดสุดท้าย จะต้องมีทานองเสยี งข้นึ สงู กอ่ น และจะจบประโยคด้วยเสยี งลงตา่  Is she a student?  May I go out?  Can we speak Thai in the classroom?  Are you all right?  Do you have a car?  Are you happy?  Have you finished your homework yet?  Did you watch a football match last night?  Will you go to university tomorrow?  Was he lazy?  It is a dog, isn’t it?  She is lazy, isn’t she?  The car runs very fast. doesn’t it?

66  They are not students, are they?  They speak very good English, don’t they?  He went to England, France, Spain, Sweden and Malaysia.  She’s going to buy some bananas, papayas, pine apples, and oranges.  We enjoy swimming, singing, hiking, and playing tennis.  One, two, three, four, five, six and seven. กำรลงเสียงตำ่ (Falling Intonation) เม่ือเป็นประโยคบอกเล่า ประโยคคาถามท่ีขึ้นต้นด้วย Wh-wordและประโยคคาสั่ง  I love pop music.  We want to go home.  They are tired after class.  Teachers work very hard today.  Long Live The King.  Clean the blackboard please.  Let’s go to the movie tonight.  What’s your name ?  How old are you ?  Where are you from ?  Why do you want it ?  How much is it ?  Who are you ?  No, that’s wrong.  Yes, that’s correct.  Which one do you prefer ?  I prefer the red one.  When will you study English ?  I will study English next week.  I don’t know, but I’m going to find it out.  First, I cleaned my house. Then I went out for lunch.  If it rains tomorrow the game is off.

67  May I leave now or I should wait ?  Call me later, if it is not too late.  Will you visit if you’re in town ?4.5 ระดับเสียง (Pitch) การเปลยี่ นแปลงระดับเสยี งมีความสัมพนั ธก์ บั ความหมายของคาและโครงสร้างของประโยคในภาษาที่ระดับของเสียงมีความสัมพันธ์กับความหมายของคาเรียกว่า Tonal Languages เช่น ภาษาไทย, จีน,เวียดนาม ซ่ึงในภาษากลุ่มน้ี เม่ือมีการเปล่ียนระดับเสียงของคาใดคาหนึ่งความหมายของคาน้ันๆ ก็จะเปล่ียนไปด้วยเช่น ในภาษาไทยคาว่า มา [ ma:], ม้า [ mã:], หมา [mâ:] ในภาษาอังกฤษการเปลี่ยนแปลงระดับเสียงมิได้ทาให้ความหมายของคาเปล่ียนไป แต่จะเกิดการเปล่ียนแปลงโครงสร้างทางไวยากรณ์ของประโยค ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่มีทานองเสียง (Intonation Language) เสียงในระดับท้ายคาหรือท้ายประโยคทท่ี อดลงต่าในภาษาองั กฤษจะแสดงความหมายของประโยคบอกเล่า ส่วนระดับเสียงท้ายคาหรือท้ายประโยคท่ีทอดสงู ขึน้ แสดงความหมายว่าเป็นคาถาม เช่น Student. บอกเล่า (Statement) Student ? คาถาม (Question) This is my homework. บอกเล่า (Statement) This is my homework ? คาถาม (Question) ระดับสงู ต่าของเสียงในการพูด มีอยู่ 4 ระดับ เหมือนระดับแผนผังของเส้นดนตรี การเน้นเสียงหนักเบาของแต่ละพยางค์จะอยู่ในระดับเส้นเสียงใดก็ได้ ขึ้นอยู่กับความหมายและทานองเสียง (Intonation ) โดยจะใช้หมายเลขแสดงเสียงระดบั เสียงดังนี้ หมายเลข 4 ระดบั สงู สุด (Extra high) หมายเลข 3 ระดับเน้น (High pitch) หมายเลข 2 ระดับปกติ (Normal pitch) หมายเลข 1 ระดับต่าสุด (Low) ในการพูดปกติอาจใช้ระดับของเสียงในช่วง 1-3, 2-4 หรือ 1-4 แต่โดยทั่ว ไปมักจะอยู่ที่ระดับ 3เท่านน้ั ส่วน ระดับ 4 มกั จะใชข้ ณะทต่ี กใจ ตืน่ เต้น กลวั หรอื เวลาตอ้ งการที่จะเนน้ เป็นพเิ ศษ เช่น Fire! Help! สถานการณ์ตอ่ ไปน้ี เมอื่ Pitch ตา่ งไป ความหมายของประโยคกจ็ ะตา่ งออกไป Pat : Where are you going ? Jim : School. (ระดับ 3) Pat : School ? (ระดับ 4) Jim : Sure. (ระดับ 3) ในท่ีน้ี ระดับ 3 ของ School หมายถึง ไปโรงเรียน ปกติก็ไปโรงเรียน แต่ ระดับ 4 ของ School หมายถงึ ประหลาดใจ ไม่แนใ่ จว่าจะไปโรงเรียน ในประโยคที่มีข้อความเดียวกันถ้าใช้ Pitch ต่างกัน จะทาให้ความหมายของประโยคต่างกัน ตัวอย่างกนั Where are you going? Where are you going?

68 Where are you going? ความชัดเจนของภาษาองั กฤษขึ้นอยู่กบั การเน้นเสยี งหนักเบาของพยางค์ และการเน้นเสียงหนักเบานี้มีสัญญาณท่ีเป็นข้อสังเกตให้เห็นเด่นอยู่ 3 ประการคือ การเปล่ียนแปลงระดับสูงต่าของเสียง (Pitch) ความยาวของหอ้ งเสยี งสระ (Length of vowel) และความชัดเจนของเสียงสระ (Vowel Clarity) ซึ่งทั้ง 3 ลักษณะนี้จะประกอบกันเกิดขึ้นในคราวเดียว เพื่อแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า พยางค์ใดเป็นพยางค์หนัก การเปล่งเสียงพยางค์ท่ีไม่เน้นนั้น ระดับเสียงจะต่าจะส้ันกว่าปกติเล็กน้อย ในการพูดปกติอาจใช้ระดับของเสียงในช่วง1-3,2-4 หรอื 1-4 ก็ได้ ศกึ ษาตวั อย่างต่อไปน้ี4.6 ลกั ษณะอ่ืนท่ีเกย่ี วขอ้ งกับกำรพดู (Other Features Related to Speech)ในขณะที่เจ้าของภาษาหรือผู้ท่ีใช้ภาษาอังกฤษได้อย่างคล่องแคล่ว มักจะมีลักษณะต่างๆ ของเสียงเกิดขึ้นในขณะท่ีพูด ซึ่งเป็นไปโดยอัตโนมัติ เนื่องจากความคล่องแคล่ว และความรวดเร็วของการพูด(Colloquial style) การสนทนาภาษาอังกฤษกับเจ้าของภาษา ผู้พูดต้องระลึกเสมอว่าภาษาอังกฤษและภาษาไทยมีความแตกต่างกัน เม่ือผสมเสียงสระและเสียงพยัญชนะ ทาให้เกิดเป็นกลุ่มคากลุ่มวลีหรือประโยค เพ่ือนาไปใช้ในการสนทนา ปัญหาท่ีผู้ฟังพบบ่อยคือไม่เข้าใจเนื้อหาของกลุ่มคา วลีหรือประโยคท่ีรับฟังได้ เพราะชาวต่างชาติมีเทคนิคการผสมเสียงภาษาอังกฤษเพ่ือให้สะดวกต่อการสนทนา โดยลักษณะเชน่ น้ีเรยี กวา่ เป็นการเปลยี่ นแปลงด้านเสยี ง เพื่อใหเ้ สียงที่เกดิ จากการผสมกนั พูดเป็นคาหรือวลีต่าง ๆโดยไม่ใหม้ กี ารสะดดุ เกิดขึ้น ซ่ึงลักษณะเช่นน้ีจะไม่พบในภาษาไทย แต่เป็นลักษณะการเปลี่ยนแปลงของเสียงในภาษาอังกฤษ โดยกรองแก้ว ไชยปะ (2546) ได้สรุปลักษณะต่างๆ นี้เรียกว่าลักษณะเสียงซ้อน (Non-segmental Features) ได้แก่ ความดังของเสียง (Loudness), คุณภาพของเสียง (Voice Quality), เวลาในการพูด (Time) และการเน้นคา (Emphasis) ดังน้ี ควำมดังของเสียง (Loudness) ขึ้นอยู่กับกาลังลมท่ีดันออกจากปอด เป็นลักษณะท่ีควบคุมได้ ผู้พูดสามารถปรับและควบคุมให้ เหมาะสมกับสภาพและสถานการณ์ในขณะนั้น เช่น คนท่ีอยู่ในดิสโกเธคจะคุยกันเสียงดังกว่าปกติหรือแทบ จะตะโกนคุยกันแต่เม่ืออยู่ในห้องประชุมที่กาลังต้องการความเงียบ หากจาเป็นต้องพูด ผู้พูดจะพูดเสียงค่อย ทีส่ ดุ คนท่ตี นื่ เต้น ตกใจ หรือโกรธมักจะพูดด้วยเสียงทมี่ ีความดงั กวา่ ปกติ การปรับและควบคุมความดังของ

69 เสียงนี้ข้ึนอยู่กับการได้ยินด้วยคนหูตึงจะไม่รู้ว่าผู้ฟังได้ยินเสียงของตนเองดัง ค่อย เพียงใด การปรับจึงยึดเอา การไดย้ ินของตนเปน็ หลัก ทาให้พูดเสยี งดงั กว่าปกติ คุณภำพของเสียง (Voice Quality) นอกจากจะข้ึนอยู่กับธรรมชาติของแต่ละคนแล้วคุณภาพของเสียงก็ข้ึนอยู่กับสุขภาพของผู้พูดด้วย ธรรมชาติของบางคนมีเสียงที่เล็กแหลม ใหญ่ห้าว ดุดันอยู่ในลาคอ หรือแหบเครือ คนที่เป็นหวัดจะมีเสียง แหบผิดปกติ หรือในคนท่ีมีความบอกพร่องของอวัยวะภายในช่องปากหรือช่องจมูกคุณภาพของเสียงลดลง ไม่ชัดเจนเท่าที่ควรจะเป็น อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่าการปรับคุณภาพของเสียงจะเป็นไปได้ยากเนื่องจากเป็น ลักษณะทข่ี ึ้นอย่กู บั ธรรมชาตขิ องแตล่ ะคน แตก่ ็สามารถจะปรับให้ชัดเจนขึ้นได้โดยการพยายามเปล่งเสียงสระ พยัญชนะ ให้ชัดเจนรวมท้ังการเน้นเสียงหนัก เบา ของพยางค์ท่ีถูกต้องก็จะทาให้เสียงที่เปล่งออกมาชัดเจน ขึน้ สรปุ ในบทที่ 4 เรื่องคุณลักษณ์พเิ ศษของเสียง หรือสัทอักษร (Suprasegmental) เราจะได้เรยี นรู้ใน เรื่องของการออกเสียงภาษาอังกฤษที่ใกลเ้ คียงกับเจา้ ของภาษามากยง่ิ ข้นึ โดยจะมีกลวธิ ใี นการออกเสียงอยู่ 5 ขนดิ โดยลาดับแรก คือ การเน้นเสยี งหนัก (Stress) เป็นการเนน้ เสียงหนักทพ่ี ยางค์ใดพยางคห์ น่ึงในคา โดยจะ แบง่ ลักษณะการเนน้ เสยี งตามชนดิ ชองคา ลาดบั ทส่ี อง คือ การเช่อื งเสียง (Linking Sound) คอื การเช่อื มเสียง ทา้ ยคากับเสียงต้นของคาตอ่ ไป ซงึ่ กลวธิ นี จ้ี ะชว่ ยทาให้การพดู มคี วามคลอ่ งตัวเพมิ่ มากข้นึ ลาดับท่สี าม คือ ช่วงจังหวะ (Rhythm) เป็นการหยุดหรือการเว้นจังหวะในชว่ งๆหน่ึงของคาพูด โดยแบ่งเป็น 4 ชนิด ไดแ้ ก่ Plus juncture, Single-Bar Juncture ,Double-Bar Juncture และ Double-Cross Juncture ลาดับทีส่ ี่ คอื ทานองเสียง เป็นเสยี งสูงต่าในภาษาอังกฤษ โดยมี 3 รูปแบบ ได้แก่ Rising-Falling Intonation ,Rising Intonation และ Rising และ Rising-Falling Intonation ลาดบั ท่ีสี่ คือ ทานองเสียง (Intonation) ซ่ึงจะ กลา่ วในเรอ่ื งของระดบั เสยี งสูงต่าในภาษาอังกฤษ ซงึ่ จะแตกต่างกบั ภาษาไทยอยา่ งชัดเจน ในลาดบั สดุ ทา้ ยจะ เป็นในเรือ่ งของ ระดับเสยี ง (Pitch) กลวิธีนจี้ ะกลา่ วในเร่ืองของระดบั เสยี งสงู ตา่ ของแต่ละพยางคใ์ นประโยค โดยระดับของเสียงน่ันจะขึน้ อยู่กับความหมายของประโยคว่าผู้พดู ต้องการจะสอ่ื ความหมายออกมาในลกั ษณะ ใด ท้ัง 5 กลวิธีดังท่กี ล่าวมาขา้ งตน้ น้ี นอกจากนีแ้ ล้วยงั มีลักษณะต่างๆ นีเ้ รยี กว่าลักษณะเสียงซ้อน (Non- segmental Features) ไดแ้ ก่ ความดงั ของเสยี ง (Loudness), คุณภาพของเสยี ง (Voice Quality), การ เปลย่ี นแปลงระดับเสยี ง (Pitch Variation), เวลาในการพูด (Time) และการเน้นคา (Emphasis) ถ้าผูเ้ รยี น สามารถฝึกฝน ใช้งานได้อยา่ งคล่องแคล่วแล้ว จะทาให้ผู้เรียนมีความสามารถในการออกเสียงภาษาอังกฤษได้ ใกลเ้ คยี งกบั เจ้าของภาษาอยา่ งแนน่ อน

70 แบบฝึกหดั1. คำถำมอัตนัยชนิดตอบส้ัน1. สทั สมั พนั ธห์ มายถงึ ............................................................................................... ......2. การเน้นเสยี ง (Stress) ในภาษาองั กฤษหมายถงึ ............................................................3. ขีดเส้นใต้ Stress คากรยิ าท่กี าหนดใหต้ อ่ ไปนี้ apply assist attract4. ขีดเส้นใต้ Stress คากรยิ าทก่ี าหนดให้ต่อไปนี้ overcome yourself fifteen5. ขีดเส้นใต้ Stress ของคานามท่กี าหนดให้ตอ่ ไปน้ี present record import6. ขดี เส้นใต้ Stress ของคากริยาทก่ี าหนดใหต้ ่อไปน้ี present record import7. ขีดเสน้ ใต้ Stress ของคานามกาหนดให้ต่อไปน้ี librarian occasion Canadian8. Pitch ในการพดู ของคนเราโดยท่ัว ๆ ไป จะอยใู่ นระดบั ที่ ............................................9. ในกรณีทต่ี กใจ ตื่นเต้น หรือตอ้ งการเนน้ เปน็ พิเศษ Pitch จะอยใู่ นระดับ .......................10. จังหวะในการพูด หน่งึ Rhythm unit หมายถึงลกั ษณะ.................................................11. เมอ่ื แบ่งวรรคตอน (Pause) ผดิ ทข่ี องประโยคน้ี ความหมายแตกตา่ งกันอย่างไร Meet me at the bus // stop when you need my help. …………………….. Meet me at the bus stop // when you need my help……………………….....12. ทานองเสยี ง (Intonation) มอี ยสู่ องระดบั ประกอบดว้ ย ...............................................13. ประโยคบอกเลา่ ปฏิเสธ และคาถามท่ีขน้ึ ต้นด้วย Wh- ทานองเสยี งจะเป็นประเภท ...........14. ประโยคคาถามทข่ี นึ้ ต้นดว้ ย Yes-No ทานองเสียงจะเปน็ ประเภท ...................................15. ประโยคต่อไปนี้เมอ่ื ใช้สนทนา มีประโยคใดที่สามารถเช่อื มเสียง (Linking sounds) ได้Hold on. Thank you. Good bye. Show me.16. การกลมกลืนของเสียง (Assimilation) ใดทไ่ี มเ่ ขา้ พวกเมอ่ื ทาเปน็ คานาม พหูพจน์books pens maps17. การกลมกลืนของเสียง (Assimilation) ใดทไี่ ม่เขา้ พวกเมอ่ื คากรยิ า เติม ed ทาเปน็ อดีตcalled smiled stopped18. Im- เปน็ คา Prefix ไมส่ ามารถเติมลงข้างหนา้ คาใดได้perfect secure mature19. เสียงใดของคาว่า Softness หายไปเพราะถูกตัดทง้ิ เพราะเสียงใกล้เคยี งกนั/s/ /f/ /t/ /n/20. เสยี งใดของคาวา่ Cupboard หายไปเพราะถูกตัดทิง้ เพราะเสียงใกล้เคียงกัน/k/ /p/ /b/ /ə/2. จงขดี เส้นใต้ Primary stress ในพยำงค์ต่อไปน้ีให้ถูกต้อง

  1. teapot history cartoon2) attract myself blackbird3) greenhouse national popular4) memory estimate economic5) indicate biology shampoo6) terrify essential relative7) abolish romantic teacher8) illness fifty reliable9) domestic establish magician10) seminar formula colony3. จงขีดเสน้ ใต้ Linking Sound ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง1. Casual dress causes a lot of problems.2. Most employees say it’s OK.3. Fashion is a pain in the neck.4. She wore stylish shoes.5. He wore a dark coat.6. That’s a very hot tie!7. She’s a very fashionable lawyer.8. It’s an old-fashioned umbrella.9. I love her elegant tennis skirt!10. They’re very comfortable loafers.4. จงเขยี น R เม่อื ทำ้ ยประโยคเปน็ เสียงสูง (Rising) หรือเขยี น F เมื่อทำ้ ยประโยคลงเสียงตำ่ (Falling)1. What’s your surname?2. Please come in.3. Write your name on this line.4. May I speak to Somchai, please?5. Are you ready for the test?6. What a surprise!7. What’s the matter?8. I haven’t read this book.9. I live in Chicago.10. We will go to visit our family tomorrow.5. จงแบ่งวรรคตอนตอ่ ไปนใ้ี หถ้ กู ต้อง1. Wally has spent time as a literacy volunteer of America and he has given money to aspecial program called “Cities in schools” which helps student stay in school.

722. In 1992, Wally started a new cookie company called The Uncle Noname CookieCompany. Each bag of cookies also had a recipe for lemonade on the bag.3. He worked in the stockroom stocking the shelves of a department store in New York andlater in a mailroom in a company.4. George dropped out of high school degree while serving in the army. After he completedhis work in the army, he attended secretarial school to learn shorthand, typing, andaccounting skills.5. Another job he had to help a famous musician try to get music jobs.6. She bought the book for his birthday today she had read long ago in college as afreshman about daffodils and how to grow them.7. Adam was born in Florida in 1937. In the 1970s, he founded the famous chocolatecompany.8. When Susan was little, her family was very poor. She did not have bus money so shewalked 4 miles to school every day.9. Susan walked 4 miles back home every day. After her parents got divorced, she went tolive with his Aunt David in New York City.10. David loved to cook and he always made him special strawberry chocolate ice-cream เอกสำรอำ้ งองิกรองแกว้ ไชยปะ. (2546). สทั ศำสตรอ์ งั กฤษและสรวทิ ยำเบือ้ งตน้ .พิมพค์ ร้ังที่ 2.เลย : โรงพิมพ์รุ่งแสง.กรองแก้ว ไชยปะ. (2548). สัทศำสตร์องั กฤษและสรวิทยำเบอื้ งต้น.พิมพ์ครั้งท่ี 3. เลย : โรงพิมพ์รุ่งแสง.นนั ทนา รณเกยี รติ. (2554). สัทศำสตร์ภำคทฤษฎีและภำคปฏิบัติ.พมิ พ์ครงั้ ท่ี 2.กรงุ เทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศษสตร์.นนั ทนา รณเกยี รติ. (2558). สัทศำสตรเ์ พ่ือกำรออกเสียงภำษำองั กฤษ.พิมพค์ ร้งั ท่ี 2.กรงุ เทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.พัชรี พลาวงศ์. (2545). กำรออกเสียงภำษำอังกฤษ. กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคาแหง.สมทรง บุรุษพัฒน์. (2551). สรศำสตร์.พิมพ์คร้งั ท่ี 2.กรงุ เทพมหานคร : ห้างหนุ้ สว่ นจากดั สามลดา.อมร ทวศี ักดิ์. (2536). สัทศำสตร์.พมิ พ์ครงั้ ที่ 2.กรงุ เทพมหานคร : สถาบันวิจยั ภาษามหาวทิ ยาลยั มหดิ ล.อญั ชลี ผาสกุ นริ ันต์. (2546). สทั ศำสตร์ภำษำองั กฤษ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั รามคาแหง.อภิลักษณ์ ธรรมทวกี ลุ .สทั ศำสตร์.สมทุ รปราการ : บรษิ ทั พงษว์ รนิ การพิมพ์ จากัด,2549Gilbert, J.B. (1990). Clear Speech. Cambridge : Cambridge University.Peter ladefoged. (2549). สัทศำสตร์.สมุทรปราการ : Thomson learning.Pongthep Bunrueng (2010). Communication in the real world. Loei Rajabhat University.http://th.wikipedia.org/wiki/http://web.udl.es/usuaris/m0163949/wordstr2.htmhttp://www.abax.co.jp/listen/liaison.html

73Unit 5 : กำรศึกษำเปรียบเทียบระหวำ่ งภำษำไทยและภำษำองั กฤษ (A comparative study between Thai and English) บทสรุปท้ายบทเรียนนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างในประเด็นท่ีสาคัญ ๆ เพ่ือให้นักศึกษาสามารถส่ือสารภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง เพราะมีคนไทยจานวนมากยังคงเข้าใจผิดว่าการท่ีชาวต่างชาติหรือฝร่ังไม่เข้าใจภาษาอังกฤษของตนเอง เป็นเพราะว่าตนเองพูดด้วยภาษาอังกฤษสาเนยี งไทย (Thai Accent) แต่ในความเป็นจริงแล้วสาเนียงใช่สิ่งสาคัญที่สุด เพราะว่าในโลกน้ีมีคนพูดภาษาอังกฤษอยู่มากมาย คนท่ีพูดภาษาอังกฤษจะมีสาเนียงแตกต่างกันไปแต่ละภูมิภาคของโลกเช่นภาษาองั กฤษสาเนียงสิงคโ์ ปร์ สาเนยี งอินเดีย หรือสาเนยี งออสเตรเลีย ปัญหาในการสื่อสารภาษาอังกฤษของคนไทย จึงไม่ใช่เร่ืองสาเนียงแต่ประการใด แต่เป็นเพราะเร่ืองของการออกเสียง (Pronunciation) ต่างหาก คนไทยหรือนักศึกษาสามารถสื่อสารให้ชาวตา่ งชาติหรือฝร่งั เข้าใจภาษาอังกฤษด้วยสาเนียงไทยได้ ที่สาคัญท่ีสุดคือนักศึกษาต้องออกเสียงได้ถูกต้อง ถึงแม้ว่ามีสาเนียงดีมากแค่ไหนก็ตามถ้าออกเสียงผิด (Mispronounce) การส่ือสารเพ่ือรับขอ้ ความหรือข้อมูลกับชาวต่างชาติก็จะผดิ ตวั อยา่ งต่อไปน้ี ถือวา่ เป็นอาการป่วย (Syndrome) ท่ีนักศึกษามักจะออกเสียงผิดบ่อย ๆ ซ่ึงจะตอ้ งไดร้ ับการรักษา เพราะถา้ นกั ศึกษาออกเสยี งผิดกจ็ ะทาให้ความหมายเปลย่ี นไปดว้ ย เช่น1. S-syndrome คือการเอาเสียง ส และ ซ ไปใสท่ ้ายเสยี ง d, t, ch, sh, thเชน่ bread (ขนมปงั ) กลายเปน็ breast (หนา้ อกผหู้ ญิง)Art (ศิลปะ) กลายเปน็ ass (ทวาร)Teach (สอน) กลายเป็น tease (หยอกลอ้ หรอื ย่ัว)2. L-R Syndrome คือการเอาเสยี ง L สลบั กบั เสยี ง Rเช่น Are you ready ? กลายเป็น Are you lady ?Rice (ขา้ ว) กลายเปน็ lice (เหา)Election (เลือกตัง้ ) กลายเปน็ erection (อวัยวะเพศชายตง้ั )3. X Syndrome คอื การตดั เสียง ส หรอื ซ ออกจากเสียง kเช่น Six people (คนหกคน) กลายเป็น sick people (คนป่วย)Axe (ขวาน) กลายเป็น act (แสดง)4. J G Syndrome คอื การออกเสียง J G เปน็ เสยี ง ย แทน จเช่น Gym (จมิ เป็น ยมิ ) jam (แจม เป็น แยม)Gel (เจล เป็น เยล) Jeans (จนี เป็น ยนี )5. Ed Syndrome คอื ปัญหาที่นกั ศึกษาพดู หรอื อา่ นออกเสยี งผิด ลงท้ายคา ed เป็น เสยี งอดิ เสมอเชน่ Washed ออกเสยี งเป็น /วอทฉดิ / Listened ออกเสยี งเป็น /ลสิ ึนหนดิ / Called ออกเสียงเป็น /คอลเล็ด/ Walked ออกเสียงเปน็ /วอกเก็ด/

74Played ออกเสยี งเปน็ /เพเย็ด/ ปัญหาต่อไปน้ีได้แยกเป็นประเด็นสาคัญๆโดยยึดจากทฤษฏีด้านการออกเสียง เพ่ือให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ได้ปัญหำเสียงพยัญชนะเสียงหยุด ( Stops )1. นกั ศกึ ษาออกเสยี งทา้ ยคา หรือเสยี งสะกดในภาษาอังกฤษเป็นเสยี งอุบ (unreleased )ทงั้ หมดอย่างในภาษาไทย แต่ในภาษาอังกฤษจะออกเปน็ เสยี งอบุ หรอื ไม่อุบก็ได้2. เน่ืองจาก /b d/ ไม่เป็นเสียงสะกดในภาษาไทย นักศึกษาจึงพยายามนาเสียงท่ีใกล้เคียงมาแทนคอื /p/ และ /t/ ตามลาดับ3. นักศึกษาออกเสียง /g/ ได้อยากลาบาก เพราะไม่มีหน่วยเสียงน้ีในภาษาไทยจึงมักนาเสียงท่ีใกล้กันคอื /k/มาแทนจงึ ออกเสยี ง4. นักศึกษาอาจมีความสนใจในตาแหน่งท่ีปรากฏของเสียง aspirated หรือ unaspirated ในภาษาองั กฤษกับเสยี งสิถลิ หรอื ธนติ ในภาษาไทย เชน่ unaspirated [p] ในคา spy ก็อาจออกเสียงเป็นaspirated [pⁿ]อย่างในคาไทยท่ีใกล้เคียงคือ สะพาย สะพาน หรือในคาอย่าง Pepsi ก็อาจออกเสียง/p/ ตัวแรกเป็น unaspirated [p]แทนทจ่ี ะเปน็ aspirated [pⁿ] อยา่ งลักษณะเสยี งในภาษาอังกฤษปัญหำพยญั ชนะกงึ่ เสียดสี (Affricates)1. นกั ศึกษาอาจพยายามจะออกเสยี งอโฆษะ /t∫/ ในภาษาอังกฤษให้เป็นเสียงอโฆษะธนติ / ch / ในภาษาไทย หรือเสยี งโฆษะ /dʒ/ ในภาษาองั กฤษใหเ้ ปน็ เสยี งอโฆษะใน ภาษาไทย ซงึ่ ในความจริงนั้นเสยี งภาษาอังกฤษไมเ่ หมือนกัน กับ / ช จ / ในภาษาไทย2 คาท่ีลงทา้ ยด้วยเสยี ง /dʒ/ /t∫/ มีปัญหามาก เพราะเปน็ เสียงที่ไมป่ รากฏเปน็ เสียงสะกด ในภาษาไทย นักศกึ ษามกั ใช้ / t / แทน เชน่ ออกเสียง rich , ridge เปน็ /rit/ปญั หำพยญั ชนะเสียงเสียดสี (Fricatives) 1 สาหรบั เสียงต้น นกั ศึกษาอาจนาเสยี งท่ีใกล้เคยี ง และมอี ยู่ในระบบเสยี งภาษาไทยมา แทน เช่น เอา / ว / แทน / v / ในคา van หรอื มักเขียนชอื่ ตัวทีข่ ึ้นตน้ ด้วยเสียง / ว / ดว้ ย เสยี ง / v / ในภาษาองั กฤษ ซงึ่ ไม่ใช่ลักษณะเสียงในภาษาไทย นาเสยี ง / ซ / หรอื / ท / มาแทนเสียง / ø / เชน่ ในคา thin หรือเสียง / ด / แทน / ð / ในคา the เปน็ ต้น2 สาหรับเสียงสะกด นบั ว่ามีปัญหาเปน็ 2 เท่า เพราะเสียงเสียดสไี มป่ รากฏในระบบเสยี ง สะกดในภาษาไทย นักเรียนมกั นาเสยี งอบุ / p / หรอื / t / มาแทน เช่น have เป็น / hæp / kiss เปน็ / kit / wash เป็น /w c t / , rich , ridge เปน็ / rit /

75ปญั หำพยญั ชนะเสียงนำสิก (Nasals)หนว่ ยเสยี งเหลา่ นี้มักไม่มีปญั หาในด้านหน่วยเสียง แตจ่ ะมีปัญหาในด้านสทั ศาสตร์ เช่นเสียง /m n ŋ / หรือ / ม น ง / ทเี่ ป็นเสยี งสะกดในภาษาไทยมีลักษณะเสียงเบาและเปน็ เสยี งอุบ นกั ศึกษามกั ออกเสยี ง / m n ŋ / ทา้ ยคาในภาษาอังกฤษ เป็นเชน่ เดียวกับภาษาไทยเสมอไปปญั หำพยญั ชนะเสียงข้ำงลน้ิ (Lateral)1 / l / หรือ / ล / เป็นหนว่ ยเสียงพยญั ชนะตน้ แต่ไม่ปรากฏเปน็ เสียงพยัญชนะสะกดใน ภาษาไทย เมอื่ เปน็ เสียงพยัญชนะต้นเสียง / I / จะออกเสียงชัดเจน ทัง้ ในภาษาไทย และภาษาองั กฤษ ในภาษาอังกฤษมหี น่วยเสยี งยอ่ ยของ / I / ท่สี าคัญคอื dark -1 หรอื Velarized ซ่งึ เสยี ง / I / ไมช่ ัดเจนหรอื เบามาก เน่อื งจากส่วนหลงั ของลน้ิ ถกู ยกขึ้นสูง ไปทางเพดานอ่อนเมอื่ ออกเสยี งนี้2 นกั ศกึ ษาจะออกเสยี ง / I / ในตาแหนง่ ทา้ ยคาได้ยาก และมักจะนาเสียงใกลเ้ คียงที่ ใช้ เปน็ เสียงสะกดในภาษาไทยคือ / น / มาแทน ดังนน้ั จึงออกเสียง school เปน็ schoon3 นกั ศึกษาจะออกเสียง dark และ syllabic ไดล้ าบากมกั จะใช้ clear – 1 แทนเสมอไป เสียงคล้าย h ผสม r หรือไม่มี r เลยเหลอื แต่ h อยา่ งเดียวปัญหำพยญั ชนะลิ้นงอ (Retroflex)/ r / หรือ / ร / ในภาษาไทยตา่ งกบั / r / ในภาษาอังกฤษในแงส่ ทั ศาสตรค์ ือเสียง / ร / ลนิ้ไม่ม้วนกลับอย่างภาษาอังกฤษ เป็นแต่เพียงล้ินกระดกข้ึนไปใกล้ปุ่มเหงือก หรือส่วนท่ีอยู่ชิดกับเพดานแข็งแล้วลดล้ินลง สาหรับบางคนขณะเดียวกันก็ปล่อยลมให้ผ่านเส้นเสียงออกมาทางช่องปากเชน่ เมือ่ ออกเสียง รา เร็ว โรงเรียน เป็นต้น เสียง / ร / ปรากฏเป็นเสียงพยัญชนะต้นเท่าน้ัน ไม่มีเป็นหนว่ ยเสียงสะกด หรือหลังสระอย่างในภาษาอังกฤษ เวลาเขียนเรามี / ร / อยู่หลังสระจริง แต่ก็ไม่ได้ออกเสียงอย่าง / ร / แต่เป็นเสียง / น / เช่นในคา กร การ เป็นต้น ฉะนั้น เสียง / ร / ในภาษาไทยมีลักษณะล้นิ กระดกหรอื รัว แต่ / r / ในภาษาองั กฤษมลี กั ษณะลนิ้ งอปญั หำอัฒสระ (Semivowels)/ w, y / หรือ /ว ย / ท่เี รยี กวา่ อฒั สระ เพราะทาหน้าท่ี 2 อยา่ ง คอื เป็นพยัญชนะแท้ เมอื่ อยู่หนา้ เสียงสระเช่น win , yes และเปน็ สระประสมเมื่ออยู่หลงั สระ เช่น cow / kow / , buy / bay/ w, y / เมอ่ื เป็นพยัญชนะแทจ้ ะจะเปน็ พยัญชนะเสียงต้นเหมอื นกนั ทัง้ ในภาษาไทยและภาษาองั กฤษแตถ่ ้าเปน็ ตาแหนง่ หลงั สระหรือเสยี งสะกด / w, y / ในภาษาองั กฤษจะรวมกบั เสยี งสระข้างหน้าเป็นสระประสม สาหรับ / ว ย / ภาษาไทยอาจจะออกเสยี งเป็นตัวสะกด หรอื สระประสมก็แลว้ แต่การออก พยัญชนะเสียงควบกลา้ ในภาษาอังกฤษมจี านวนมากกว่าท่ีมีในภาษาไทยมาก ในภาษาไทยมีเฉพาะกล้า 2 เสียง แตใ่ นภาษาอังกฤษมเี พยี งเสยี งควบกลา้ ทัง้ 2 เสียงและ 3 เสยี ง รวมทง้ั ตวั สะกด

76ควบกลา้ ท้งั 2 เสียง 3 เสยี ง และ 4 เสยี ง และยังมปี ระเภทสองตั้งแต่ 2 เสยี ง ไปถึงหลายเสยี งก็มี ซง่ึได้กล่าวถึงพอเปน็ สงั เขปต่อไปนี้1. ประเภทควบกล้ำหนำ้ 2 เสยี ง เปน็ พยญั ชนะเสยี งกลา้ ประเภทเด่ยี วทอี่ าจนามาเปรียบเทียบกันไดบ้ า้ ง เพื่อใหเ้ ป็นลกั ษณะทีใ่ กล้เคยี งกนั ดังน้ีไทย อังกฤษ/kr-/ กรง /kr-/ crush/khr-/ ครอง/pr-/ ปราง/phr-/ พราง /pr-/ pray/tr-/ ตรา/thr-/ ทฤษฎี /tr-/ try/kl-/ กลาง/khl-/ คลาย /kl-/ clay/pl-/ ปลา/phl-/ พลาง /pl-/ play/kw-/ กวาง/khw-/ ความ /kw-/ quick/fr-/ ฟรี /fr-/ free/dr-/ ดราฟท์ /dr-/ draft, drawในภาษาอังกฤษยังมเี สยี งควบกลา้ อกี หลายลักษณะ ซึ่งในภาษาไทยไม่มีเชน่ /bl-/ black /br-/ brook /by-/ beauty /py-/ pure /pw-/ pueblo /tw-/ twin /dw-/ dwell /gl-/ glow /gr-/ gray /gl-/ glues /gw-/ guava /fl-/ flow /fr-/ frost /fy-/ feud /vy-/ view

77 /r-/ through /w-/ thwart /sp-/ span /st-/ stay /sk-/ skin /sf-/ sphere /sn-/ snow /sl-/ slow /sw-/ swim /sm-/ smooth /my-/ music /hy-/ huge /hw-/ which2. ประเภทควบกลำ้ หนำ้ 3 เสียง มีเฉพาะในภาษาองั กฤษ ไม่มีภาษาไทย เชน่/spl-/ splash /spr-/ spring/spy-/ spume /str-/ string/skl-/ sclerosis /skw-/ square/sky-/ scribe /skr-/ screw3. ประเภทควบกล้ำหลัง 2 เสยี ง มเี ฉพาะในภาษาอังกฤษ ภาษาไทยไม่มี เชน่/-pt/ apt /-s/ baths/-ps/ lapse /-ðd/ bathed/-bd/ robbed /-ðz/ bathes/-bz/ cabs /-sp/ wasp/-t/ eighth /-st/ test/-ts/ cats /-sk/ ask/-d/ width /-zd/ caused/-dz / adds /-zd/ rouged/-kt/ act /-mp/ camp/-ks/ tax /-mb/ lamb/-gz/ tags /-mf/ nymph/-ft/ lift /-nd/ and/-fs/ laughs /-nt/ ant/-vd/ lived /-ns/ glance

78/-nz/ bronze /-n/ tenth/-d/ longed /-k/ bank/-lp/ help /-z/ things/-lt/ belt /-lb/ bulb/-lk/ milk /-ld/ old/-lv/ delve /-lf/ self/-ls/ false /-ls/ gules/-ln/ kiln /-rp/ harp/-rd/ word /-rk/ bark/-rv/ curve /-rl/ girl4. ประเภทควบกลำ้ หลัง 3 เสียง มีเฉพาะในภาษาอังกฤษ ไมม่ ีในภาษาไทย เช่น/-pts/ crypts /-mft/ triumphed/-ts/ eighths /-ndz/ bronzed/-dzd/ adzed /-nks/ lynx/-plz/ apples /-nst/ against/-tst/ blitzed /-lbd/ bulbed/-dst/ midst /-ldz/ holds/-sps/ wasps /-lst/ repulsed/-skt/ asked /-lmd/ filmed/-mpt/ tempt /-lnd/ kilned/-rpt/ except /-rps/ corpse ตัวอย่างดังต่อไปนี้ ก. ควบกล้า ชนิด 2 เสยี ง เชน่/-pt-/ helicopter/-pf-/ up for/-ps-/ capsule/-pl-/ supply/-pr-/ April/-tp-/ output/-kp-/ jackpot/-fw-/ halfway/-ks-/ boxer/-sp-/ wispy

79 ข. ควบกล้า ชนดิ 3 เสียง เช่น/-rps-/ harpsichord/-ksp-/ expert/-ktf-/ Respectful/-kl-/ conclude/-mpl-/ complex/-nzd-/ Wednesday ค. ควบกลา้ ชนิด 4 เสียง เชน่/-kspl-/ explain/-ksdr-/ looks drunk/-njdf-/ changed for/-ldfr-/ old friend/-kskw-/ exquisite/-kspr-/ express/-kstr-/ extra/-ldgl-/ field-glasses ง. ควบกลา้ ชนดิ 5 เสียง เช่น/-nkspr-/ inks producer/-skskl-/ desks clean/-kstkw-/ fixed quickly/-kspl-/ sixth place จ. ควบกล้า ชนดิ 6 เสียง เชน่/-nctpsl-/ lunched splendidly/-mptspl-/ attempts plenty of/-ksstr-/ thinks straight ฉะน้ันจึงเห็นได้ว่าพยัญชนะเสียงควบกล้าในภาษาอังกฤษน้ันมีหลายลักษณะ และมีจานวนมากกว่าในภาษาไทยมากอย่างเทียบกันไม่ได้ ท่ีมีเสียงควบกล้าเพียง 8 ลักษณะในประเภทควบกล้าหน้า 2 เสยี งเทา่ นน้ั ปัญหาสาหรับนักศกึ ษาทเี่ รียนเกี่ยวกบั เสียงพยญั ชนะควบกล้านั้น มีเป็นสองเท่าของพยัญชนะเสียงเดียว คือการออกเสียงพยัญชนะแต่ละเสียงดังได้กล่าวแล้วในขั้นต้น และการออกเสียงควบกล้าของพยัญชนะในภาษาอังกฤษ กลา่ วคอื เสียงควบกล้าในภาษาอังกฤษทุกประเภทโดยไม่มีเสียงสระใดๆขึ้นอยู่ระหว่างเสียงพยัญชนะเหล่าน้ัน จึงเป็นการอยากท่ีจะออกเสียงกล้าที่ไม่ซ้ากับภาษาไทยไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ปัญหาท่ีสาคัญอีกประการหนึ่งคือการออกเสียง -ed เม่ือเติมท้ายคาลงไป (–ed ending)การเติมท้ายคากริยาสามารถออกเสียง ได้สามวิธีคือ เสียง /t/ /d/ และ /id/ ศึกษากฎดังต่อไปน้ี

801. ออกเสียงเป็น /t/ เมื่อเติมหลังคากริยาที่ลงเสียงท้ายด้วยเสียงไม่ก้อง (Voiceless) ทุกเสียง เช่นworked, kissed, walked, looked, stopped. laughed, wrapped2. ออกเสียงเป็น /d/ เม่ือเติมหลังคากริยาที่ลงเสียงท้ายด้วยเสียงก้อง (Voiced) ทุกเสียง ยกเว้น/t/ /d/ เช่น planned, called, phoned, played, prayed,3. ออกเสียงเป็น /id/ เมอื่ เตมิ หลงั คากริยาที่ลงเสียงท้ายดว้ ยเสยี ง /t/ or /d/ เชน่ landed,skated, needed, printed, rented,Exercise 1 : Group the following words into right column.liked, robbed, ended, handed, begged, helped, laughed, judged, listed, wanted,saved, missed, wished, raised, regarded, pretended, soothed, ranked, watched,rouged, protected, prevented, blamed, punched, glanced, burned, recorded,demanded, pulled, stamped, sniffed, hanged, committed /-t/ /-d/ /-id/ นอกเหนือจากปัญหาเสียง –ed แล้ว ปัญหาการอ่านออกเสียง -s ที่เติมท้ายคาก็ยังเป็นปัญหาอยู่มาก การเติมเสียง –s เข้าไปท้ายคากริยาเพ่ือเป็นเอกพจน์ของบุรุษท่ีสาม หรือการเติม –sเพอ่ื ให้เป็นคาพหูพจน์ สามารถออกเสยี งไดเ้ ปน็ สามประเภทดังต่อไปน้ี คือ /s/ /z/ /iz/1. ออกเสียงเป็น /s/ เมื่อเติมหลังคากริยาที่ลงเสียงท้ายด้วยเสียงไม่ก้อง (Voiceless) ทุกเสียงยกเว้นเสียง s, sh and ch เช่น ropes, pots, bats, cats, picks, stuffs, months2. ออกเสียงเป็น /z/ เมื่อเติมหลังคากริยาที่ลงเสียงท้ายด้วยเสียงก้อง (Voiced) ทุกเสียง ยกเว้นเสียง /z/ / ʒ/ /dʒ/ เชน่ robes, leads, bags, sings, cars, leaves, baths3. ออกเสียงเป็น /iz/ เมื่อเติมหลังคากริยาที่ลงเสียงท้ายด้วยเสียง /s/ /t∫/ /z/ /ʒ/ //dʒ/เชน่ passes, wishes, catches, pages,

81Exercise 2 : Group the following words into right column.tapes, tubs, misses, weeps, cabs, cashes, matches, hugs, hats, seats, seeds, roses,says, weeks, loafs, knives, houses, sneezes, years, laughs, myths, walls, prizes,mirages, things, markets, escapes, sighs, pronounces, villages, times, attacks,photographs, counties, establishes /-s/ /-z/ /-iz/ เอกสำรอ้ำงอิงเทียนมณี บญุ จนุ (2548) ระบบเสยี งในภำษำอังกฤษและภำษำไทย. สานักพมิ พิ์โอเดียนสโตร์ : กรุงเทพมหานคร.ปรารมภร์ ัตน์ โชตกิ เสถยี ร (2544) กำรออกเสียงสระและเสยี งพยัญชนะในภำษำอังกฤษ. สานกั พิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์แห่งมหาวทิ ยาลยั . กรุงเทพมหานคร.Fraenkel A. et al. (2002) English language. Life & Culture. London. Hodder Headline Plc.Mollerup Asger (2000) Thai-Isan-Lao Phrasebook. White Lotus Co. Ltd. Bangkok.Wright C. Chris Delivery Book 2. Bangkok, Thailand, Nation Books.